BF Economic Research
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน พ.ค. -20 อยู่ที่99.8 vs. prev 99.8 หรือ -3.44%YoY (vs. prev.-2.99%YoY) ,เมื่อเทียบรายเดือน 0.01%MoM (vs. prev.-2.03%MoM)YTD: -1.04% (vs. prev.-0.44%)
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (ไม่รวมอาหารและน้ำมัน) อยู่ที่ 0.01%YoY (vs. prev.0.41%YoY)เมื่อเทียบรายเดือน -0.30%MoM (vs. prev.-0.07%MoM)
ราคาอาหาร (36% ของตะกร้าสินค้า) อยู่ที่ -0.01%YoY (vs. prev.1.04%YoY) ,เมื่อเทียบรายเดือน 0.02%MoM (vs. prev.0.08%MoM)
ราคาสินค้าที่ไม่ใช่อาหาร (64% ของตะกร้าสินค้า) อยู่ที่ -5.42%YoY (vs. prev.-5.28%YoY) ,เมื่อเทียบรายเดือน 0.00%MoM (vs. prev.-3.28%MoM)
คาดการณ์ Headline CPI ปีนี้ที่ -1.0 ถึง -0.5% สำหรับ Headline CPI ในปี 2021 คาดว่าจะอยู่ในกรอบ 0-0.5%
Key Point ปัจจัยที่มีผลต่อการหดตัวของอัตราเงินเฟ้อไทยในช่วงเดือน พ.ค.-มิ.ย. ได้แก่
- สถานการณ์การแพร่ระบาดของCOVID–19 และราคาน้ำมันเชื้อเพลิง (ทั้งจากด้านอุปสงค์และด้านอุปทาน) โดยสถานการณ์ราคาพลังงานโลกมีแนวโน้มสูงขึ้นจากการตกลงการลดกำลังการผลิตของผู้ผลิตน้ำมัน รายใหญ่และความต้องการใช้น้ำมันของหลายประเทศเพิ่มสูงขึ้นจากการเริ่มกลับเข้าสู่สถานการณ์ปกติ
- อย่างไรก็ตาม มาตรการช่วยเหลือเยียวยาของภาครัฐ อาทิ การลดค่ากระแสไฟฟ้าและค่าน้ำประปา ที่ยังคงมีผลบังคับใช้ในเดือนมิ.ย. จะเป็นปัจจัยลบต่ออัตราเงินเฟ้อของประเทศ
- MOC มองเงินเฟ้อทั้งปีที่ -1 ถึง -0.2%
- มุมมองอัตราดอกเบี้ยนโยบาย คงไว้ที่ 0.5% จนกว่าจะเข้าช่วงไตรมาส 3ของปีนี้ หากมุมมองเศรษฐกิจยังแย่อยู่ เช่น GDP ไตรมาส 2 ที่จะประกาศออกมาช่วง ส.ค. Drop ลงแรง ก็มีสิทธิจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย แต่ตอนนี้ขอมองว่าคงไว้ที่ 0.5%