ส่งออกไทย ในเดือน เม.ย.-20 อยู่ที่ 18,948.0 ล้านดอลลาร์ฯ vs. prev 22,404.6 ล้านดอลลาร์ฯ หรือ 2.12%YoY (vs. prev.4.17%YoY)

ส่งออกไทย ในเดือน เม.ย.-20 อยู่ที่ 18,948.0 ล้านดอลลาร์ฯ vs. prev 22,404.6 ล้านดอลลาร์ฯ หรือ 2.12%YoY (vs. prev.4.17%YoY)

BF Economic Research ส่งออกไทย ในเดือน เม.ย.-20 อยู่ที่ 18,948.0 ล้านดอลลาร์ฯ vs. prev 22,404.6 ล้านดอลลาร์ฯ หรือ 2.12%YoY (vs. prev.4.17%YoY) ถ้าไม่รวมทองจะอยู่ที่ -10.31%YoY (vs. prev.0.17%YoY) หากไม่รวมทองคำ น้ำมันและอาวุธ จะหดตัวที่ -7.53% YoY มูลค่านำเข้าไทย ในเดือน เม.ย.-20 อยู่ที่ 16,486.0 ล้านดอลลาร์ฯ vs. prev 20,812.5 ล้านดอลลาร์ฯ or -17.10%YoY (vs. prev.7.30%YoY) ดุลการค้า ในเดือน เม.ย.-20  อยู่ที่ 2,462.3 ล้านดอลลาร์ฯ vs. prev 1,592.1 ล้านดอลลาร์ฯ […]

กนง.ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง 25 bps สู่ 0.5%

กนง.ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง 25 bps สู่ 0.5%

BF Economic Research คณะกรรมการฯ มีมติ 4 ต่อ 3 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% ต่อปี จาก 0.75% เป็น 0.50% ต่อปี โดยให้มีผลทันที สรุปการประชุม กนง. เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มหดตัวกว่าที่ประเมินไว้ การท่องเที่ยวและการส่งออกสินค้าได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจประเทศคู่ค้ามากกว่าคาด ขณะที่อุปสงค์ในประเทศทั้งการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนหดตัวกว่าที่ประเมินไว้จากการว่างงานที่เพิ่มสูงขึ้นและมาตรการควบคุมการระบาด อย่างไรก็ดี มาตรการการเงินการคลังจะมีส่วนช่วยบรรเทาปัญหาสภาพคล่องของครัวเรือนและธุรกิจ รวมทั้งสนับสนุนให้เศรษฐกิจไทยทยอยฟื้นตัวได้ คณะกรรมการฯ เห็นว่ามาตรการด้านการคลังที่ตรงจุดและทันการณ์ยังมีความจำเป็นต่อการสนับสนุนการจ้างงานและธุรกิจ SMEs เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและรักษาศักยภาพการเจริญเติบโตในระยะต่อไป สำหรับอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยทั้งปี 2563 มีแนวโน้มติดลบมากกว่าที่คาดตามราคาพลังงานที่ลดลง  ด้านภาวะการเงิน ตลาดการเงินมีเสถียรภาพ หลัง ธปท. ออกมาตรการดูแลเสถียรภาพตลาดการเงิน รวมทั้งจัดตั้งกองทุนเพื่อรักษาสภาพคล่องของการระดมทุนในตลาดตราสารหนี้ (BSF) อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลปรับลดลงและอัตราผลตอบแทนหุ้นกู้ที่ซื้อขายในตลาดรองผันผวนน้อยลง ตลาดตราสารหนี้กลับมาทำหน้าที่ได้เป็นปกติมากขึ้น อย่างไรก็ดี คณะกรรมการฯ ให้ติดตามสถานการณ์ของสหกรณ์ออมทรัพย์ที่อาจได้รับผลกระทบจากการลงทุนในตราสารหนี้ ด้านสินเชื่อขยายตัวโดยเฉพาะสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ ส่วนสินเชื่อเพื่ออุปโภคบริโภคชะลอลงบ้าง สภาพคล่องในระบบการเงินในภาพรวมยังอยู่ในระดับสูง อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ธนาคารพาณิชย์ (ธพ.) […]

เศรษฐกิจญี่ปุ่นเข้าสู่สภาวะถดถอยเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ปี 2016 หลัง GDP ไตรมาส 1 หดตัว -3.4% QoQ saar

เศรษฐกิจญี่ปุ่นเข้าสู่สภาวะถดถอยเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ปี 2016 หลัง GDP ไตรมาส 1 หดตัว -3.4% QoQ saar

BF Economic Research เศรษฐกิจญี่ปุ่นเข้าสู่สภาวะถดถอยเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ปี 2016 ภายหลัง GDP (เบื้องต้น) ในไตรมาส 1/2020 หดตัว -3.4% QoQ saar (-0.9% QoQ) โดยแม้จะเป็นการหดตัวที่น้อยกว่าที่ตลาดคาดไว้ แต่นับเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ติดต่อกัน จากที่ก่อนหน้านี้ GDP ของญี่ปุ่นหดตัว -7.1% QoQ saar ในไตรมาส 4/2019 ในรายองค์ประกอบของ GDP นั้น ทั้งการบริโภค การลงทุน และส่งออกต่างชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว โดยการบริโภคหดตัวต่อเนื่องที่ -2.8% QoQ saar แม้ว่าไตรมาสที่แล้วจะหดตัวลงแรงถึง -11.1% จากการปรับภาษีบริโภคขึ้นในเดือนต.ค. 2019 ในขณะที่การลงทุนภาคเอกชนหดตัว -2.1% QoQ saar จาก -17.7% ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนการลงทุนภาครัฐชะลอตัว […]

เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรก หดตัว -1.8% อ่อนแอลงจากที่ขยายตัว 1.5% ในไตรมาส 4 ปี 2019 แต่ดีกว่าตลาดเนื่องจากการสะสมสินค้าคงคลัง

เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรก หดตัว -1.8% อ่อนแอลงจากที่ขยายตัว 1.5% ในไตรมาส 4 ปี 2019 แต่ดีกว่าตลาดเนื่องจากการสะสมสินค้าคงคลัง

BF Economic Research เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรก หดตัว -1.8% อ่อนแอลงจากที่ขยายตัว 1.5% ใน 4Q19 แต่ดีกว่าตลาด ทั้งนี้ หากเทียบรายไตรมาสต่อไตรมาสหลังขจัดปัจจัยฤดูกาล (QoQ, SA) พบว่า เศรษฐกิจไทยหดตัว -2.2% (vs. -0.2% ใน 4Q19) เข้าสู่ภาวะ Technical Recession ในรายองค์ประกอบ ด้านการใช้จ่าย การส่งออกสินค้าและบริการหดตัว -6.7% โดยได้รับแรงฉุดจากการส่งออกบริการที่หดตัว-29.8% ตามรายได้จากภาคการท่องเที่ยว การบริโภคเอกชนขยายตัว 3.0% (vs. +4.1% ใน 4Q19) เป็นอัตราที่ชะลอลงแต่ยังบวกได้ด้วยแรงหนุนจากกาารบริโภคสินค้าไม่คงทน การลงทุนหดตัว -6.5% (vs. +0.8% ใน 4Q19) ซึ่งได้รับแรงฉุดทั้งจากการลงทุนภาครัฐและภาคเอกชนที่หดตัว -9.3% (vs. +2.6% ใน 4Q19) […]

ตัวเลขการจ้างงานสหรัฐฯ ลดลงมาก หนุนอัตราว่างงานพุ่งแรงขึ้น

ตัวเลขการจ้างงานสหรัฐฯ ลดลงมาก หนุนอัตราว่างงานพุ่งแรงขึ้น

BF Economic Research การจ้างงานนอกภาคเกษตร (Nonfarm payrolls) เดือน เม.ย. ลดลง 20.5 ล้านราย สะท้อนผลของ First Wave COVID-19 สำหรับตัวเลขการจ้างงานในเดือน มี.ค. ถูกปรับลดลงเพิ่มเติมเป็นลดลง 8.81 แสนราย (จากเดิมลดลง 7.01 แสนราย) โดยการจ้างงานในภาคบริการปรับลดลงอย่างมาก 17.16 ล้านราย (vs. ลดลง 7.68 แสนรายในเดือนก่อน) นำโดยการจ้างงานในหมวดการโรงแรมและการพักผ่อน (ลดลง 7.65 ล้านราย) การศึกษาและสุขภาพ (ลดลง 2.54 ล้านราย) การให้บริการทางธุรกิจ (ลดลง 2.12 ล้านราย) และการค้าปลีก (ลดลง 2.1 ล้านราย) ส่วนการจ้างงานในภาคการผลิตสินค้า (Good producing Sector) […]

เศรษฐกิจยูโรโซนไตรมาส 1 หดตัว -3.8% QoQ ต่ำกว่าช่วงวิกฤติการเงินโลกในปี 2008-2009 และมีแนวโน้มหดตัวมากขึ้นในไตรมาส 2

เศรษฐกิจยูโรโซนไตรมาส 1 หดตัว -3.8% QoQ ต่ำกว่าช่วงวิกฤติการเงินโลกในปี 2008-2009 และมีแนวโน้มหดตัวมากขึ้นในไตรมาส 2

BF Economic Research เศรษฐกิจยูโรโซนไตรมาส 1/2020 (ตัวเลขเบื้องต้น) หดตัว -3.8% QoQ ซึ่งเป็นระดับการชะลอตัวทางเศรษฐกิจเทียบรายไตรมาสที่รุนแรงกว่าในช่วงวิกฤติการเงินโลกในปี 2008-2009 ที่หดตัว -3.2% QoQ และรุนแรงที่สุดนับตั้งแต่มีการก่อตั้งยูโรโซนในปี 1999 อย่างไรก็ดี เนื่องจากประเทศส่วนใหญ่ในกลุ่มยูโรโซนได้ประกาศใช้มาตรการล็อกดาวน์อย่างเข้มงวดนับตั้งแต่ช่วงปลายเดือนมี.ค. ที่ผ่านมา จนถึงช่วงต้นเดือนพ.ค. ทำให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ จะได้รับผลกระทบอย่างชัดเจนมากขึ้นในไตรมาส 2 สะท้อนจากดัชนี PMI ทั้งภาคการผลิตและภาคบริการที่ลดลงอย่างมากในเดือนเม.ย. เราจึงมองว่า GDP ยูโรโซนในไตรมาส 2 นี้มีแนวโน้มปรับตัวลดลงมากกว่าไตรมาส 1 โดยสำหรับทั้งปี 2020 เราคาดว่า GDP ยูโรโซนจะหดตัวที่ -5.5% สำหรับในรายประเทศนั้น GDP ไตรมาส 1 ของฝรั่งเศส อิตาลี และสเปนต่างหดตัวที่ -5.8% QoQ, -5.2% QoQ และ […]

สรุปภาวะเศรษฐกิจไทย (อัพเดท วันที่ 5 พ.ค. 2563)

สรุปภาวะเศรษฐกิจไทย (อัพเดท วันที่ 5 พ.ค. 2563)

BF Economic Research การบริโภคภาคเอกชนลดลง -0.6% YoY (vs. 5.4% เดือนก่อน): ตัวชี้วัดด้านการบริโภคส่วนใหญ่หดตัว โดยเฉพาะการบริโภคสินค้าคงทนและภาคบริการ (-22.0% และ -21.1% ตามลำดับ) อย่างไรก็ตาม การบริโภคสินค้าไม่คงทนยังขยายตัวต่อเนื่องจากการกักตุนสินค้าที่เพิ่มขึ้นในช่วงที่ไวรัสแพร่ระบาด ขณะที่ตัวชี้วัดกำลังซื้อยังคงอ่อนแอ (อาทิ รายได้เกษตรกร -1.7% และการจ้างงาน -1.2%) การลงทุนภาคเอกชนหดตัวต่อเนื่องที่ -7.8% YoY (vs. -6.9% เดือนก่อน) : จากการลดลงของทั้งเครื่องชี้ภาคก่อสร้าง (อาทิ ยอดขายวัสดุก่อสร้าง -2.6%) และเครื่องชี้การลงทุนในเครื่องจักรและอุปกรณ์ (อาทิ ยอดจดทะเบียนรถยนต์ใหม่เพื่อการลงทุน -8.0%) ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน มี.ค. หดตัว -11.2% YoY (vs. -4.2% เดือนก่อน) ด้านอัตราการใช้กำลังการผลิต (หลังปรับฤดูกาล) […]

GDP สหรัฐฯหดตัวที่ -4.8% QoQ saar ประชุม Fed เมื่อวานเดินหน้า Unlimited QE แต่จะยังไม่ทำ YCC

GDP สหรัฐฯหดตัวที่ -4.8% QoQ saar ประชุม Fed เมื่อวานเดินหน้า Unlimited QE แต่จะยังไม่ทำ YCC

BF Economic Research GDP ไตรมาส 1/2020 หดตัว -4.8% QoQ, saar จากที่ขยายตัว 2.1% ในไตรมาสก่อน โดยนับเป็นการหดตัวมากสุดนับตั้งแต่ปี 2008 และแย่กว่าที่ตลาดคาดที่ -4.0% จากการใช้มาตรการคุมเข้มเพื่อระงับการระบาดของ COVID-19 ที่กดดันกิจกรรมทางเศรษฐกิจ นำโดยการบริโภคเอกชนที่หดตัว -7.6% QoQ, saar (vs. +1.8% ไตรมาสก่อน) ซึ่งนับเป็นการหดตัวมากสุดนับตั้งแต่ปี 1980 การลงทุนภาคเอกชนหดตัว -5.6% (vs. -1.0% ไตรมาสก่อน) จากการลงทุนภาคธุรกิจ (CAPEX) ที่หดตัวแรง -7.6% แย่สุดในรอบ 11 ปี ขณะที่การลงทุนภาคอสังหาริมทรัพย์ขยายตัวแรง 21.0% สูงสุดในรอบ 7 ปี จากแรงหนุนของอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับต่ำ การใช้จ่ายภาครัฐชะลอลงเป็น 0.7% QoQ, […]

BF Monthly Economic Review – เม.ย. 2563

BF Monthly Economic Review – เม.ย. 2563

BF Economic Research ณ เดือน เม.ย. เริ่มเห็นตัวเลขเศรษฐกิจของเดือน มี.ค.ออกมาไม่ดี โดย GDP ไตรมาส 1 ของประเทศ จีน เกาหลี และเวียดนามออกมา ตัวเลขดูไม่ดีเลย ทุกประเทศยังคงเดินหน้าอัดฉีดทั้งการเงินและการคลังต่อเนื่อง นำโดยสหรัฐฯ IMF ออกมาปรับประมาณการเศรษฐกิจโลกลงต่ำสุดแย่กว่าปี 2009 เดือนหน้าจะมีการเริ่มประกาศ GDP 1Q2020 ออกมา กระนั้น หลายๆ ประเทศเริ่มที่จะพิจารณาการผ่อนคลายการ Lock Down บางส่วนแล้ว ตัวเลขสำคัญที่จะออก ในช่วงปลายเม.ย และต้นพ.ค. จะมีการประกาศ GDP และ การประชุมของธนาคารกลางสำคัญคือ Fed ตัวเลข PMI  ทั้ง Composite, Manufacturing และ Service ยังดูไม่ดี , Service […]

จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเดือน มี.ค. ลดลงเหลือ 8.2 แสนคน หดตัว -76.4% YoY ด้านรายได้จากการท่องเที่ยวลดลงเหลือ 3.9 หมื่นล้านบาท หดตัว -77.6%

จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเดือน มี.ค. ลดลงเหลือ 8.2 แสนคน หดตัว -76.4% YoY ด้านรายได้จากการท่องเที่ยวลดลงเหลือ 3.9 หมื่นล้านบาท หดตัว -77.6%

BF Economic Research จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ เดือน มี.ค. ลดลงเหลือ 8.2 แสนคน หดตัว -76.4% YoY ด้านรายได้จากการท่องเที่ยวลดลงเหลือ 3.9 หมื่นล้านบาท หดตัว -77.6% รายประเทศ จีน (-94.2%) ยุโรป (-51.2%) มาเลเซีย (-70.2%) อินเดีย (-90.5%) ญี่ปุ่น (-83.2%) สหรัฐฯ (-78.0%) และตะวันออกกลาง (-94.3%) ภาพรวมในไตรมาสแรกปี 2020 นักท่องเที่ยวต่างชาติอยู่ที่ 6.7 ล้านคน หดตัว -38.0% YoY และรายได้จากการท่องเที่ยวอยู่ที่ 3.3 แสนล้านบาท หดตัว -40.4% เราคาดทั้งปี รายได้จากการท่องเที่ยวจะหายไป 51.5% มาอยู่ที่ 9.4 […]