ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 31 พ.ค. 2564 ปิดตลาดที่ 1,593.59 จุด เพิ่มขึ้น 11.61 จุด

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 31 พ.ค. 2564 ปิดตลาดที่ 1,593.59 จุด เพิ่มขึ้น 11.61 จุด

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 31 พ.ค. 2564 ปิดตลาดที่ 1,593.59 จุด เพิ่มขึ้น 11.61 จุด หรือ +0.73% ระหว่างวัน ดัชนีสูงสุดที่ 1,594.65 จุด และต่ำสุดที่ 1,578.09 จุด มูลค่าการซื้อขาย 79,813.26 ล้านบาท หลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายสูงสุด 5 อันดับได้แก่ 1.SIRI ปิดที่ 1.43 บาท เพิ่มขึ้น 0.12 บาท (+9.16%) มูลค่าการซื้อขาย 3,473.43 ลบ. 2.KBANK ปิดที่ 119.00 บาท ลดลง 0.50 บาท (-0.42%) มูลค่าการซื้อขาย 2,121.01 ลบ. 3.RCL ปิดที่ 54.25 […]

Intel ชี้โลกยังต้องเผชิญภาวะชิปขาดตลาดไปอีกหลายปี

Intel ชี้โลกยังต้องเผชิญภาวะชิปขาดตลาดไปอีกหลายปี

สำนักข่าว Reuters รายงานว่า Intel Corp ออกมาให้ข้อมูลเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมาว่า อาจจะต้องใช้เวลาอีกหลายปีในการแก้ปัญหาการขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์ทั่วโลก ซึ่งส่งผลให้สายการผลิตรถยนต์ต้องระงับชั่วคราว รวมถึงกระทบต่อด้านอื่นๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้าสำหรับผู้บริโภค เป็นต้น Pat Gelsinger กล่าวผ่านเวทีเสวนาเสมือนในงานแสดงสินค้าซึ่งจัดขึ้นที่กรุงไทเป ไต้หวันว่า แนวโน้มการทำงานและเรียนจากที่บ้านที่เกิดขึ้นในช่วงโควิด-19 แพร่ระบาด นำไปสู่วงจรการเติบโตอย่างรวดเร็วในกลุ่มเซมิคอนดักเตอร์ สร้างความตึงเครียดให้กับห่วงโซ่อุปทาน (ซัพพลายเชน) ของโลก “ในระหว่างนี้อุตสาหกรรมกำลังแก้ปัญหาการขาดแคลนที่เกิดขึ้น แต่อาจต้องใช้เวลา 2-3 ปี สำหรับระบบนิเวศในการแก้ปัญหา” เขา กล่าว Gelsinger เคยกล่าวกับ The Washington Post เมื่อกลางเดือน เม.ย. ว่า ปัญหาการขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์คงจะต้องใช้เวลาอีก 2-3 ปี ในการแก้ไข โดยในส่วนของบริษัทวางแผนจะเริ่มผลิตชิปภายใน 6-9 เดือน เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนในโรงงานผลิตรถยนต์สหรัฐฯ ทั้งนี้ Bracken Darrell ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร Logitech […]

หุ้นยังน่าลงทุนหรือไม่ และจะกระจายลงทุนอย่างไรในภาวะตลาดผันผวน

หุ้นยังน่าลงทุนหรือไม่ และจะกระจายลงทุนอย่างไรในภาวะตลาดผันผวน

สรุปความสัมภาษณ์ เศรณี นาคธน AVP Portfolio Management อัพเดทสถานการณ์ COVID 19 และ ความคืบหน้าของวัคซีน สถานการณ์ COVID-19 ในประเทศไทย จำนวนผู้ติดเชื้อยังคงเพิ่มขึ้น ส่วนประเทศเพื่อนบ้านในทวีปเอเชีย บางประเทศก็มีจำนวนผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นเช่นกัน แต่หากมองที่สถานการณ์ COVID-19 ทั่วโลก ถือว่าตอนนี้เราอยู่เลยช่วงที่จำนวนผู้ติดเชื้อปรับขึ้นไปสูงสุด (peak)ในการระบาดระลอกที่ 2 ไปแล้ว จำนวนผู้ติดเชื้อค่อยๆ ลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในประเทศที่เร่งการฉีดวัคซีนป้องกัน COVID-19 นำโดยฝั่งอเมริกา ยุโรป หรือบางประเทศในเอเชีย โดยปัจจุบันมีประชากรโลก ประมาณ 10% ที่ได้รับการฉีดวัคซีนอย่างน้อย 1 โดส ซึ่งเราคิดว่าวัคซีนเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญสำหรับการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจและความเคลื่อนไหวของตลาดเงินตลาดทุน ทั้งนี้ ก็เพราะว่าประเทศไหนที่มีการเร่งการฉีดวัคซีนที่ดี มีประสิทธิภาพ การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจก็จะทำได้ต่อเนื่อง ไม่ต้องสะดุดเพราะการล็อคดาวน์อีก รวมถึงตลาดหุ้นก็จะค่อยๆ รับรู้เรื่อง COVID-19 น้อยลง เนื่องจากการเร่งฉีควัคซีนทำให้นักลงทุนมองข้ามช็อตไป   สินทรัพย์ประเภทไหนที่น่าสนใจลงทุนในช่วงนี้ […]

BTSGIF เตรียมนำกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน จ่ายคืนเงินทุนให้ผู้ถือหน่วย 0.049 บาทต่อหน่วย วันที่ 28 มิ.ย. นี้

BTSGIF เตรียมนำกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน จ่ายคืนเงินทุนให้ผู้ถือหน่วย 0.049 บาทต่อหน่วย วันที่ 28 มิ.ย. นี้

นายพรชลิต พลอยกระจ่าง รองกรรมการผู้จัดการ Head of Real Estate & Infrastructure Investment บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม บัวหลวง จำกัด (กองทุนบัวหลวง) เปิดเผยว่า กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทีเอสโกรท (BTSGIF) เตรียมนำกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน รอบระยะเวลาบัญชีตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 31 มีนาคม 2564 (ไตรมาสที่ 4 ของการดำเนินงานปี 2563/2564) จ่ายให้ผู้ถือหน่วยลงทุนในรูปการคืนเงินทุน  0.049 บาทต่อหน่วย โดยการลดมูลค่าที่ตราไว้ จากหน่วยละ 9.692 บาท เหลือหน่วยละ 9.643 บาท ทำให้ตั้งแต่จัดตั้งกองทุน จ่ายเงินปันผลและการคืนเงินทุนรวมแล้วทั้งสิ้น 5.499 บาท การจ่ายคืนเงินทุนครั้งนี้  จะขึ้นเครื่องหมายไม่ได้รับสิทธิในการรับคืนเงินทุน  (XN)  วันที่  10  มิถุนายน  […]

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้เพื่อการเลี้ยงชีพ (BFRMF)

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้เพื่อการเลี้ยงชีพ (BFRMF)

ภาพรวมตลาด อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยในเดือน เม.ย. 2564 ปรับตัวลดลง โดยอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุไม่เกิน 5 ปี เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้าเล็กน้อย ขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุมากกว่า 5 ปี ปรับตัวลดลง 4 – 19 bps. โดยปัจจัยหลักยังคงเคลื่อนไหวตามแนวโน้มอัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาวของสหรัฐฯ ที่มีการปรับตัวลดลงเป็นเดือนแรกในปีนี้ หลังจากที่ความคาดหวังของอัตราเงินเฟ้อ (5 years forward breakeven inflation) มีแนวโน้มทรงตัวที่ระดับ 2.00 – 2.15% สะท้อนว่านักลงทุนเริ่มผ่อนคลายความกังวลด้านการปรับเพิ่มขึ้นของเงินเฟ้อ และเห็นว่าอัตราผลตอบแทนที่ระดับปัจจุบันสามารถยอมรับได้ จึงกลับเข้ามาซื้อพันธบัตรอีกครั้ง อย่างไรก็ดี อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยโดยเฉพาะในระยะยาวปรับตัวลดลงในระดับจำกัดและมีปริมาณการซื้อขายที่เบาบางระหว่างเดือน เนื่องจากนักลงทุนมีความกังวลด้านธุรกรรมแลกเปลี่ยนพันธบัตร (Bond Switching) มูลค่ารวมไม่เกิน 140,000 ล้านบาท ซึ่งจะส่งผลให้พันธบัตรระยะยาวมีปริมาณเพิ่มขึ้นและมีผลต่อราคาพันธบัตร โดยการทำธุรกรรม Bond Switching เสร็จสิ้นในวันที่ 26 เม.ย. ที่ผ่านมา โดยมีการตอบรับจากนักลงทุนในระดับที่ดี ทำให้เกิดแรงซื้อกลับเข้าพันธบัตรระยะยาวอีกครั้ง […]

กองทุนเปิดบัวหลวงมันนี่มาร์เก็ตเพื่อการเลี้ยงชีพ (MM-RMF)

กองทุนเปิดบัวหลวงมันนี่มาร์เก็ตเพื่อการเลี้ยงชีพ (MM-RMF)

ภาพรวมตลาด การประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินของสหรัฐฯ (FOMC) ในวันที่ 27 – 28 เม.ย. ที่ผ่านมา มีมติเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับ 0.00-0.25% และเน้นย้ำว่าเศรษฐกิจยังคงมีความผันผวนจากผลกระทบของการแพร่ระบาดของ COVID-19 จึงต้องดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายต่อไปเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจเพื่อให้มีการจ้างงานเต็มประสิทธิภาพและอัตราเงินเฟ้อเร่งตัวขึ้นสู่ระดับ 2% และเกินระดับดังกล่าวพอสมควรเป็นระยะเวลาหนึ่ง นอกจากนี้ Fed จะยังคงซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ในระดับอย่างน้อย 120,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือนเช่นเดิม แบ่งเป็นการซื้อพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ วงเงิน 80,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือน และซื้อตราสารหนี้ที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยเป็นหลักประกันการจำนอง (MBS) ในวงเงิน 40,000 ล้านดอลลาร์ เพื่อช่วยให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ระยะยาวของภาคเอกชนอยู่ในระดับต่ำต่อไป ทั้งนี้ ถึงแม้นายพาวเวลล์ ประธานธนาคารกลางสหรัฐฯ แถลงว่า ยังไม่มีแผนการลดปริมาณการซื้อพันธบัตร แต่ตลาดเริ่มมีมุมมองภายหลังจากการประชุมว่าการประกาศตัวเลขการจ้างงานนอกภาคเกษตร (non-farm payroll) รวมถึงอัตราเงินเฟ้อจะเร่งตัวขึ้นเกินกว่าเป้าหมายภายในช่วงครึ่งหลังของปีนี้ ซึ่งจะส่งผลให้ Fed สามารถเริ่มส่งสัญญาณการลดปริมาณการซื้อพันธบัตรได้ตั้งแต่ปี 2565 เป็นต้นไป ธนาคารกลางยุโรป (ECB) มีมติคงนโยบายการเงินเดิมตามคาด […]

กองทุนเปิดบัวหลวงเพิ่มพูน (B-ENHANCED)

กองทุนเปิดบัวหลวงเพิ่มพูน (B-ENHANCED)

ภาพรวมตลาด การประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินของสหรัฐฯ (FOMC) ในวันที่ 27 – 28 เม.ย. ที่ผ่านมา มีมติเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับ 0.00-0.25% และเน้นย้ำว่าเศรษฐกิจยังคงมีความผันผวนจากผลกระทบของการแพร่ระบาดของ COVID-19 จึงต้องดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายต่อไปเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจเพื่อให้มีการจ้างงานเต็มประสิทธิภาพและอัตราเงินเฟ้อเร่งตัวขึ้นสู่ระดับ 2% และเกินระดับดังกล่าวพอสมควรเป็นระยะเวลาหนึ่ง นอกจากนี้ Fed จะยังคงซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ในระดับอย่างน้อย 120,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือนเช่นเดิม แบ่งเป็นการซื้อพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ วงเงิน 80,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือน และซื้อตราสารหนี้ที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยเป็นหลักประกันการจำนอง (MBS) ในวงเงิน 40,000 ล้านดอลลาร์ เพื่อช่วยให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ระยะยาวของภาคเอกชนอยู่ในระดับต่ำต่อไป ทั้งนี้ ถึงแม้นายพาวเวลล์ ประธานธนาคารกลางสหรัฐฯ แถลงว่า ยังไม่มีแผนการลดปริมาณการซื้อพันธบัตร แต่ตลาดเริ่มมีมุมมองภายหลังจากการประชุมว่าการประกาศตัวเลขการจ้างงานนอกภาคเกษตร (non-farm payroll) รวมถึงอัตราเงินเฟ้อจะเร่งตัวขึ้นเกินกว่าเป้าหมายภายในช่วงครึ่งหลังของปีนี้ ซึ่งจะส่งผลให้ Fed สามารถเริ่มส่งสัญญาณการลดปริมาณการซื้อพันธบัตรได้ตั้งแต่ปี 2565 เป็นต้นไป ธนาคารกลางยุโรป (ECB) มีมติคงนโยบายการเงินเดิมตามคาด […]

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ (BFIXED)

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ (BFIXED)

ภาพรวมตลาด การประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินของสหรัฐฯ (FOMC) ในวันที่ 27 – 28 เม.ย. ที่ผ่านมา มีมติเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับ 0.00-0.25% และเน้นย้ำว่าเศรษฐกิจยังคงมีความผันผวนจากผลกระทบของการแพร่ระบาดของ COVID-19 จึงต้องดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายต่อไปเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจเพื่อให้มีการจ้างงานเต็มประสิทธิภาพและอัตราเงินเฟ้อเร่งตัวขึ้นสู่ระดับ 2% และเกินระดับดังกล่าวพอสมควรเป็นระยะเวลาหนึ่ง นอกจากนี้ Fed จะยังคงซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ในระดับอย่างน้อย 120,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือนเช่นเดิม แบ่งเป็นการซื้อพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ วงเงิน 80,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือน และซื้อตราสารหนี้ที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยเป็นหลักประกันการจำนอง (MBS) ในวงเงิน 40,000 ล้านดอลลาร์ เพื่อช่วยให้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ระยะยาวของภาคเอกชนอยู่ในระดับต่ำต่อไป ทั้งนี้ ถึงแม้นายพาวเวลล์ ประธานธนาคารกลางสหรัฐฯ แถลงว่า ยังไม่มีแผนการลดปริมาณการซื้อพันธบัตร แต่ตลาดเริ่มมีมุมมองภายหลังจากการประชุมว่าการประกาศตัวเลขการจ้างงานนอกภาคเกษตร (non-farm payroll) รวมถึงอัตราเงินเฟ้อจะเร่งตัวขึ้นเกินกว่าเป้าหมายภายในช่วงครึ่งหลังของปีนี้ ซึ่งจะส่งผลให้ Fed สามารถเริ่มส่งสัญญาณการลดปริมาณการซื้อพันธบัตรได้ตั้งแต่ปี 2565 เป็นต้นไป ธนาคารกลางยุโรป (ECB) มีมติคงนโยบายการเงินเดิมตามคาด […]

กองทุนเปิดบัวหลวงธนทวี (B-TNTV)

กองทุนเปิดบัวหลวงธนทวี (B-TNTV)

ภาพรวมตลาด อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยในเดือน เม.ย. 2564 ปรับตัวลดลง โดยอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุไม่เกิน 5 ปี เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้าเล็กน้อย ขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุมากกว่า 5 ปี ปรับตัวลดลง 4 – 19 bps. โดยปัจจัยหลักยังคงเคลื่อนไหวตามแนวโน้มอัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาวของสหรัฐฯ ที่มีการปรับตัวลดลงเป็นเดือนแรกในปีนี้ หลังจากที่ความคาดหวังของอัตราเงินเฟ้อ (5 years forward breakeven inflation) มีแนวโน้มทรงตัวที่ระดับ 2.00 – 2.15% สะท้อนว่านักลงทุนเริ่มผ่อนคลายความกังวลด้านการปรับเพิ่มขึ้นของเงินเฟ้อ และเห็นว่าอัตราผลตอบแทนที่ระดับปัจจุบันสามารถยอมรับได้ จึงกลับเข้ามาซื้อพันธบัตรอีกครั้ง อย่างไรก็ดี อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยโดยเฉพาะในระยะยาวปรับตัวลดลงในระดับจำกัดและมีปริมาณการซื้อขายที่เบาบางระหว่างเดือน เนื่องจากนักลงทุนมีความกังวลด้านธุรกรรมแลกเปลี่ยนพันธบัตร (Bond Switching) มูลค่ารวมไม่เกิน 140,000 ล้านบาท ซึ่งจะส่งผลให้พันธบัตรระยะยาวมีปริมาณเพิ่มขึ้นและมีผลต่อราคาพันธบัตร โดยการทำธุรกรรม Bond Switching เสร็จสิ้นในวันที่ 26 เม.ย. ที่ผ่านมา โดยมีการตอบรับจากนักลงทุนในระดับที่ดี ทำให้เกิดแรงซื้อกลับเข้าพันธบัตรระยะยาวอีกครั้ง […]

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ภาครัฐ (B-TREASURY)

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ภาครัฐ (B-TREASURY)

ภาพรวมตลาด อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยในเดือน เม.ย. 2564 ปรับตัวลดลง โดยอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุไม่เกิน 5 ปี เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้าเล็กน้อย ขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุมากกว่า 5 ปี ปรับตัวลดลง 4 – 19 bps. โดยปัจจัยหลักยังคงเคลื่อนไหวตามแนวโน้มอัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาวของสหรัฐฯ ที่มีการปรับตัวลดลงเป็นเดือนแรกในปีนี้ หลังจากที่ความคาดหวังของอัตราเงินเฟ้อ (5 years forward breakeven inflation) มีแนวโน้มทรงตัวที่ระดับ 2.00 – 2.15% สะท้อนว่านักลงทุนเริ่มผ่อนคลายความกังวลด้านการปรับเพิ่มขึ้นของเงินเฟ้อ และเห็นว่าอัตราผลตอบแทนที่ระดับปัจจุบันสามารถยอมรับได้ จึงกลับเข้ามาซื้อพันธบัตรอีกครั้ง อย่างไรก็ดี อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยโดยเฉพาะในระยะยาวปรับตัวลดลงในระดับจำกัดและมีปริมาณการซื้อขายที่เบาบางระหว่างเดือน เนื่องจากนักลงทุนมีความกังวลด้านธุรกรรมแลกเปลี่ยนพันธบัตร (Bond Switching) มูลค่ารวมไม่เกิน 140,000 ล้านบาท ซึ่งจะส่งผลให้พันธบัตรระยะยาวมีปริมาณเพิ่มขึ้นและมีผลต่อราคาพันธบัตร โดยการทำธุรกรรม Bond Switching เสร็จสิ้นในวันที่ 26 เม.ย. ที่ผ่านมา โดยมีการตอบรับจากนักลงทุนในระดับที่ดี ทำให้เกิดแรงซื้อกลับเข้าพันธบัตรระยะยาวอีกครั้ง […]