ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 25 มี.ค. 2024 ปิดตลาดที่ 1,372.49 จุด ลดลง 8.55 จุด (-0.62%)

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 25 มี.ค. 2024 ปิดตลาดที่ 1,372.49 จุด ลดลง 8.55 จุด (-0.62%)

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 25 มี.ค. 2024 ปิดตลาดที่ 1,372.49 จุด ลดลง 8.55 จุด (-0.62%) ระหว่างวัน ดัชนีต่ำสุดที่ 1,368.21 จุด และสูงสุดที่ 1,385.61 จุด  มูลค่าการซื้อขาย 41,060.71 ล้านบาท หลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายสูงสุด 5 อันดับ ได้แก่ PTT ปิดที่ 33.75 บาท ลดลง 0.25 (-0.74%) มูลค่าการซื้อขาย 2,350.74 ล้านบาท ADVANC ปิดที่ 208.00 บาท ลดลง 1.00 (-0.48%)  มูลค่าการซื้อขาย 1,559.12 ล้านบาท KTB ปิดที่ 16.8 บาท มูลค่าการซื้อขาย 1,443.24 […]

BOJ อาจปรับขึ้นดอกเบี้ยอีกภายในต.ค.ปีนี้ คาดเยนอ่อนยวบเป็นปัจจัยเร่ง

BOJ อาจปรับขึ้นดอกเบี้ยอีกภายในต.ค.ปีนี้ คาดเยนอ่อนยวบเป็นปัจจัยเร่ง

นักเศรษฐศาสตร์ในโพลสำรวจของสำนักข่าวบลูมเบิร์กคาดการณ์ว่า ธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) อาจจะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีกครั้งภายในเดือนต.ค.ปีนี้ และอาจปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเร็วกว่าคาด เนื่องจากการอ่อนค่าของเงินเยนมีแนวโน้มที่จะเป็นปัจจัยผลักดันให้ BOJ ดำเนินการดังกล่าว หลังจาก BOJ ได้ตัดสินใจครั้งสำคัญด้วยการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายสู่ระดับ 0 ถึง 0.1% จากระดับ -0.1% ซึ่งเป็นการปรับขึ้นครั้งแรกในรอบ 17 ปีเมื่อวันอังคารที่ผ่านมา (19 มี.ค.) นักวิเคราะห์ 70% ของจำนวน 47 คนที่ได้รับการสำรวจโดยบลูมเบิร์กคาดการณ์ว่า BOJ อาจจะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีกครั้งภายในเดือนต.ค. ผลสำรวจยังระบุด้วยว่า นักเศรษฐศาสตร์ตระหนักถึงความเสี่ยงที่นายคาซูโอะ อุเอดะ และกรรมการคนอื่นๆ ของ BOJ อาจจะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีกครั้งในช่วงไม่กี่เดือนข้างหน้านี้ แม้ว่า BOJ ได้ส่งสัญญาณว่าจะยังคงดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายต่อไปอีกระยะหนึ่ง หลังจากที่ปรับขึ้นดอกเบี้ยเป็นครั้งแรกในรอบ 17 ปีในการประชุมเมื่อวันอังคารที่ผ่านมา ทั้งนี้ หลังจากการประชุมวันดังกล่าว เงินเยนอ่อนค่าลงกว่า 1% เนื่องจากนักลงทุนตีความถ้อยแถลงของนายอุเอดะว่า BOJ จะดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายต่อไป และที่ประชุม BOJ […]

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 22 มี.ค. 2024 ปิดตลาดที่ 1,381.04 จุด ลดลง 6.58 จุด (-0.47%) 

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 22 มี.ค. 2024 ปิดตลาดที่ 1,381.04 จุด ลดลง 6.58 จุด (-0.47%) 

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 22 มี.ค. 2024 ปิดตลาดที่ 1,381.04 จุด ลดลง 6.58 จุด (-0.47%) ระหว่างวัน ดัชนีต่ำสุดที่ 1,379.43 จุด และสูงสุดที่ 1,389.79 จุด  มูลค่าการซื้อขาย 39,300.70 ล้านบาท หลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายสูงสุด 5 อันดับ ได้แก่o8iio08i KTB ปิดที่16.80 บาท เพิ่มขึ้น 0.70 (+4.35%) มูลค่าการซื้อขาย 3,696.83 ล้านบาท CPALL ปิดที่ 54.25 บาท ลดลง 0.50 (-0.91%)  มูลค่าการซื้อขาย 2,242.49 ล้านบาท BKGI ปิดที่ 4.16 บาท ลดลง 1.29 (-23.67%)  […]

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 21 มี.ค. 2024 ปิดตลาดที่ 1,387.62 จุด เพิ่มขึ้น 14.44 จุด (+1.05%) 

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 21 มี.ค. 2024 ปิดตลาดที่ 1,387.62 จุด เพิ่มขึ้น 14.44 จุด (+1.05%) 

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 21 มี.ค. 2024 ปิดตลาดที่ 1,387.62 จุด เพิ่มขึ้น 14.44 จุด (+1.05%) ระหว่างวัน ดัชนีต่ำสุดที่ 1,382.99 จุด และสูงสุดที่ 1,388.66 จุด  มูลค่าการซื้อขาย 43,596.00 ล้านบาท หลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายสูงสุด 5 อันดับ ได้แก่ CPALL ปิดที่ 54.75 บาท ลดลง 0.75 (-1.35%) มูลค่าการซื้อขาย 3,192.11 ล้านบาท BKGI ปิดที่ 5.45 บาท เพิ่มขึ้น 1.05 (+23.86%) มูลค่าการซื้อขาย 2,297.55 ล้านบาท DELTA ปิดที่ 72.25 บาท เพิ่มขึ้น 5.50 […]

วิจัยชี้ประเทศส่วนใหญ่มีเด็กเกิดใหม่ต่ำเกินไป อาจเผชิญปัญหาขาดแคลนแรงงาน

วิจัยชี้ประเทศส่วนใหญ่มีเด็กเกิดใหม่ต่ำเกินไป อาจเผชิญปัญหาขาดแคลนแรงงาน

ผลการวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์เดอะแลนเซต (The Lancet) เมื่อวานนี้ (20 มี.ค.) เปิดเผยว่า อัตราการเจริญพันธุ์ในเกือบทุกประเทศนั้นจะต่ำเกินกว่าจะสามารถรักษาระดับจำนวนประชากรภายในช่วงสิ้นคริสต์ศตวรรษนี้ นายสไตน์ เอมิล โวลล์เซ็ต นักวิจัยอาวุโสจากสถาบันเพื่อการวัดและประเมินผลด้านสุขภาพ (IHME) แห่งมหาวิทยาลัยวอชิงตันในเมืองซีแอตเทิลระบุว่า แนวโน้มดังกล่าวจะนำไปสู่ความเหลื่อมล้ำของอัตราการเกิดทั่วโลก โดยประเทศรายได้ต่ำ ซึ่งมีแนวโน้มเผชิญความไม่มั่นคงทางเศรษฐกิจและทางการเมืองนั้น จะเผชิญภาวะ “เบบี้บูม” คือ มีเด็กเกิดใหม่จำนวนมาก ข้อมูลระบุว่า อัตราการเจริญพันธุ์ทั่วโลก (จำนวนบุตรโดยเฉลี่ยต่อผู้หญิง 1 คน) ลดลงจากประมาณเด็ก 5 คนในปี 2493 มาเป็น 2.2 คนในปี 2564 ในปี 2564 จำนวนประเทศและดินแดนต่าง ๆ ที่มีอัตราการเจริญพันธุ์ต่ำกว่าระดับทดแทนประชากรที่เด็ก 2.1 คนต่อผู้หญิง 1 คนนั้น มีจำนวนถึง 110 แห่ง คิดเป็น 54% ของทั้งโลก สำนักข่าวรอยเตอร์ […]

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 20 มี.ค. 2024 ปิดตลาดที่ 1,373.18 จุด ลดลง 9.28 จุด (-0.67%) 

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 20 มี.ค. 2024 ปิดตลาดที่ 1,373.18 จุด ลดลง 9.28 จุด (-0.67%) 

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 20 มี.ค. 2024 ปิดตลาดที่ 1,373.18 จุด ลดลง 9.28 จุด (-0.67%) ระหว่างวัน ดัชนีต่ำสุดที่ 1,372.28 จุด และสูงสุดที่ 1,386.67 จุด  มูลค่าการซื้อขาย 54,648.47 ล้านบาท หลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายสูงสุด 5 อันดับ ได้แก่ BKGI ปิดที่ 4.40 บาท เพิ่มขึ้น 2.77 (+169.94%)  มูลค่าการซื้อขาย 3,227.85 ล้านบาท CPALL ปิดที่ 55.50 บาท ลดลง 0.75 (-1.33%) มูลค่าการซื้อขาย 1,685.63 ล้านบาท PTT ปิดที่ 34.00 บาท ลดลง 0.50 […]

แบงก์ชาติอินโดนีเซียตรึงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 6% หวังพยุงค่าเงินรูเปียห์

แบงก์ชาติอินโดนีเซียตรึงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 6% หวังพยุงค่าเงินรูเปียห์

ธนาคารกลางอินโดนีเซีย (BI) ประกาศตรึงอัตราดอกเบี้ยซื้อคืนพันธบัตรโดยมีสัญญาขายคืน (reverse repurchase rate) ระยะเวลา 7 วัน ซึ่งเป็นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ไว้ที่ระดับ 6% ในวันนี้ (20 มี.ค.) ตามการคาดการณ์ หลังค่าเงินรูเปียห์ของอินโดนีเซียเผชิญแรงกดดันตลอดหลายวันที่ผ่านมา ในขณะที่ตลาดต่าง ๆ ตอบสนองต่อการทบทวนนโยบายการเงินในประเทศเศรษฐกิจสำคัญต่าง ๆ ทั้งนี้ มติตรึงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับ 6% ของธนาคารกลางอินโดนีเซียนั้นสอดคล้องกับการคาดการณ์ของนักเศรษฐศาสตร์ทั้ง 31 รายในผลสำรวจที่จัดทำโดยสำนักข่าวรอยเตอร์ ขณะเดียวกัน ธนาคารกลางอินโดนีเซียยังได้คงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ไว้ที่ระดับเดิม นายเพอร์รี วาร์จิโย ผู้ว่าการธนาคารกลางอินโดนีเซีย ระบุว่า การตัดสินใจครั้งล่าสุดนี้สอดคล้องกับความพยายามในการรักษาเสถียรภาพของค่าเงินรูเปียห์และการควบคุมเงินเฟ้อ เงินรูเปียห์อ่อนค่าลงประมาณ 1% ในสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยเมื่อวันจันทร์เงินรูเปียห์อ่อนค่าครั้งใหญ่ที่สุดนับตั้งแต่ช่วงปลายเดือนม.ค. ซึ่งเป็นช่วงก่อนที่ธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) จะจัดประชุมนโยบายการเงิน แต่ค่าเงินรูเปียห์ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงไปหลังธนาคารกลางอินโดนีเซียประกาศตรึงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย นอกจากนี้ ธนาคารกลางอินโดนีเซียได้คงคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจอินโดนีเซียสำหรับปี 2567 ที่กรอบ 4.7%-5.5% ที่มา: รอยเตอร์

BBLAM เสนอขาย IPO ‘BP7/24(AI)’ วันที่ 20-26 มี.ค. 2567

BBLAM เสนอขาย IPO ‘BP7/24(AI)’ วันที่ 20-26 มี.ค. 2567

BBLAM เสนอขาย IPO ‘กองทุนรวมบัวหลวงธนสารพลัส 7/24 ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย’ หรือ BP7/24(AI)    ซึ่งเป็นเทอมฟันด์  อายุ  6  เดือน  วันที่  20-26 มีนาคม 2567 นี้  ลงทุนขั้นต่ำ  500,000  บาท เป็นทางเลือกให้ผู้ลงทุนที่มองหาการลงทุนในตราสารหนี้ต่างประเทศ เพื่อโอกาสรับผลตอบแทนที่เหมาะสม   รายงานข่าวจาก   บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม บัวหลวง จำกัด หรือ BBLAM  เปิดเผยว่า  BBLAM  เสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรก (IPO) กองทุนรวมบัวหลวงธนสารพลัส 7/24 ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย หรือ BP7/24(AI) ระหว่างวันที่ 20-26 มีนาคม 2567 ประมาณการผลตอบแทน 2.15% ต่อปี โดยเสนอขายในราคา 10 บาทต่อหน่วย  และผู้ลงทุนจะต้องจองซื้อครั้งแรกขั้นต่ำ 500,000 บาท […]

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 19 มี.ค. 2024 ปิดตลาดที่ 1,382.46 จุด ลดลง 3.48 จุด (-0.25%) 

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 19 มี.ค. 2024 ปิดตลาดที่ 1,382.46 จุด ลดลง 3.48 จุด (-0.25%) 

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 19 มี.ค. 2024 ปิดตลาดที่ 1,382.46 จุด ลดลง 3.48 จุด (-0.25%) ระหว่างวัน ดัชนีต่ำสุดที่ 1,382.46 จุด และสูงสุดที่ 1,391.21 จุด  มูลค่าการซื้อขาย 54,059.85 ล้านบาท หลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายสูงสุด 5 อันดับ ได้แก่ KBANK ปิดที่ 124.50 บาท เพิ่มขึ้น 0.50 (+0.40%)  มูลค่าการซื้อขาย 1,775.77 ล้านบาท ADVANC ปิดที่ 210.00 บาท เพิ่มขึ้น 1.00 (+0.48%)  มูลค่าการซื้อขาย 1,708.50 ล้านบาท PTTEP ปิดที่ 154.50 บาท เพิ่มขึ้น 0.50 […]

ธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) ประกาศขึ้นดอกเบี้ยครั้งแรกในรอบ 17 ปี

ธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) ประกาศขึ้นดอกเบี้ยครั้งแรกในรอบ 17 ปี

ธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) ประกาศขึ้นอัตราดอกเบี้ยในการประชุมวันนี้ (19 มี.ค.) ซึ่งเป็นการปรับขึ้นครั้งแรกในรอบ 17 ปีหรือนับตั้งแต่ปี 2550 พร้อมกับประกาศยกเลิกนโยบายควบคุมเส้นอัตราผลตอบแทน (YCC) ซึ่งถือเป็นการยุติการใช้นโยบายอัตราดอกเบี้ยติดลบที่ดำเนินการมาเป็นเวลานานและเป็นประเทศสุดท้ายของโลก หลังจากมีสัญญาณบ่งชี้ว่าค่าจ้างของญี่ปุ่นปรับตัวขึ้นในปีนี้ สำนักข่าวซีเอ็นบีซี รายงานว่า คณะกรรมการ BOJ มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยระยะสั้น ซึ่งเป็นอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นสู่ระดับ 0 ถึง 0.1% จากระดับ -0.1% นอกจากนี้ BOJ ได้ประกาศยุตินโยบายควบคุมเส้นอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปี โดยที่ผ่านมา BOJ ได้ใช้นโยบายควบคุมเส้นอัตราผลตอบแทนเพื่อกำหนดอัตราดอกเบี้ยระยะยาวผ่านการซื้อและขายพันธบัตรดังกล่าว แถลงการณ์ของ BOJ ยังระบุด้วยว่า BOJ จะยุติการซื้อกองทุน ETF และ J-REITS ซึ่งเป็นกองทุนทรัสต์เพื่อการลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ของญี่ปุ่น และจะค่อยๆ ปรับลดการซื้อตราสารหนี้เอกชน โดยวางแผนว่าจะยุติการซื้อตราสารหนี้เอกชนภายในระยะเวลา 1 ปี อย่างไรก็ดี BOJ จะยังคงเข้าซื้อพันธบัตรของรัฐบาลญี่ปุ่นในวงเงินเท่ากับในช่วงที่ผ่านมา การดำเนินการดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่า […]