กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ (BFIXED)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ ตั้งแต่ต้นปี 2563 ที่ผ่านมาอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลทั่วโลกค่อนข้างผันผวนและปรับตัวลดลงทุกช่วงอายุจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้เศรษฐกิจทั่วโลกหดตัวอย่างรุนแรง รัฐบาลและธนาคารกลางในหลายๆ ประเทศเร่งออกมาตรการสนับสนุนต่างๆ และดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย ทั้งการลดดอกเบี้ยและการอัดฉีดสภาพคล่องอย่างต่อเนื่อง โดยภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดเริ่มคลี่คลาย หลายประเทศเริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการปิดเมืองทำให้เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณฟื้นตัวจากจุดต่ำสุด (bottoming out) และนักลงทุนเริ่มกลับมาถือสินทรัพย์เสี่ยงเพิ่มมากขึ้น ในช่วง 2 เดือนที่เหลือของปี 2563 นักลงทุนยังต้องเผชิญกับความท้าทายจากปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อแนวโน้มเศรษฐกิจและความผันผวนในตลาดการเงิน ได้แก่ ความเสี่ยงจากการกลับมาระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศต่างๆ ทำให้ภาครัฐอาจต้องเลื่อนการเปิดเมืองหรืออาจต้องกลับไปใช้มาตรการปิดเมืองอีกครั้ง และก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยความกังวลนี้จะทยอยคลี่คลายเมื่อมีการแจกจ่ายวัคซีนเป็นการทั่วไป ความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลงขนาดของมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐยังคงมีความไม่แน่นอน จากข้อจำกัดในด้านต่างๆ อาทิ ความสามารถในการก่อหนี้ และงบประมาณคงเหลือ เป็นต้น การเคลื่อนย้ายเงินลงทุนซึ่งมีแนวโน้มจะไหลเข้าสู่กลุ่มประเทศเกิดใหม่และแนวโน้มการแข็งค่าของเงินบาทจากการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และการปรับเพิ่มขึ้นของราคาทองคำ ด้านธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ในวันที่ 4 พ.ย.นี้ ไม่มีการปรับเปลี่ยนนโยบายตามคาด โดยยังคงดอกเบี้ยใน range 0 – 0.25% ขณะที่มองว่าความเห็นต่อนโยบาย และมุมมองต่อเศรษฐกิจจาก FOMC ไม่มีอะไรใหม่ แม้จะยังคงอยู่ใน stance ผ่อนปรนมาก […]
กองทุนเปิดบัวหลวงธนทวี (B-TNTV)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ ตั้งแต่ต้นปี 2563 ที่ผ่านมาอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลทั่วโลกค่อนข้างผันผวนและปรับตัวลดลงทุกช่วงอายุจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้เศรษฐกิจทั่วโลกหดตัวอย่างรุนแรง รัฐบาลและธนาคารกลางในหลายๆ ประเทศเร่งออกมาตรการสนับสนุนต่างๆ และดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย ทั้งการลดดอกเบี้ยและการอัดฉีดสภาพคล่องอย่างต่อเนื่อง โดยภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดเริ่มคลี่คลาย หลายประเทศเริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการปิดเมืองทำให้เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณฟื้นตัวจากจุดต่ำสุด (bottoming out) และนักลงทุนเริ่มกลับมาถือสินทรัพย์เสี่ยงเพิ่มมากขึ้น ในช่วง 2 เดือนที่เหลือของปี 2563 นักลงทุนยังต้องเผชิญกับความท้าทายจากปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อแนวโน้มเศรษฐกิจและความผันผวนในตลาดการเงิน ได้แก่ ความเสี่ยงจากการกลับมาระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศต่างๆ ทำให้ภาครัฐอาจต้องเลื่อนการเปิดเมืองหรืออาจต้องกลับไปใช้มาตรการปิดเมืองอีกครั้ง และก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยความกังวลนี้จะทยอยคลี่คลายเมื่อมีการแจกจ่ายวัคซีนเป็นการทั่วไป ความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลงขนาดของมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐยังคงมีความไม่แน่นอน จากข้อจำกัดในด้านต่างๆ อาทิ ความสามารถในการก่อหนี้ และงบประมาณคงเหลือ เป็นต้น การเคลื่อนย้ายเงินลงทุนซึ่งมีแนวโน้มจะไหลเข้าสู่กลุ่มประเทศเกิดใหม่และแนวโน้มการแข็งค่าของเงินบาทจากการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และการปรับเพิ่มขึ้นของราคาทองคำ ด้านธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ในวันที่ 4 พ.ย.นี้ ไม่มีการปรับเปลี่ยนนโยบายตามคาด โดยยังคงดอกเบี้ยใน range 0 – 0.25% ขณะที่มองว่าความเห็นต่อนโยบาย และมุมมองต่อเศรษฐกิจจาก FOMC ไม่มีอะไรใหม่ แม้จะยังคงอยู่ใน stance ผ่อนปรนมาก […]
กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ภาครัฐ (B-TREASURY)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ ตั้งแต่ต้นปี 2563 ที่ผ่านมาอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลทั่วโลกค่อนข้างผันผวนและปรับตัวลดลงทุกช่วงอายุจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้เศรษฐกิจทั่วโลกหดตัวอย่างรุนแรง รัฐบาลและธนาคารกลางในหลายๆ ประเทศเร่งออกมาตรการสนับสนุนต่างๆ และดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย ทั้งการลดดอกเบี้ยและการอัดฉีดสภาพคล่องอย่างต่อเนื่อง โดยภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดเริ่มคลี่คลาย หลายประเทศเริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการปิดเมืองทำให้เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณฟื้นตัวจากจุดต่ำสุด (bottoming out) และนักลงทุนเริ่มกลับมาถือสินทรัพย์เสี่ยงเพิ่มมากขึ้น ในช่วง 2 เดือนที่เหลือของปี 2563 นักลงทุนยังต้องเผชิญกับความท้าทายจากปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อแนวโน้มเศรษฐกิจและความผันผวนในตลาดการเงิน ได้แก่ ความเสี่ยงจากการกลับมาระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศต่างๆ ทำให้ภาครัฐอาจต้องเลื่อนการเปิดเมืองหรืออาจต้องกลับไปใช้มาตรการปิดเมืองอีกครั้ง และก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยความกังวลนี้จะทยอยคลี่คลายเมื่อมีการแจกจ่ายวัคซีนเป็นการทั่วไป ความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลงขนาดของมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐยังคงมีความไม่แน่นอน จากข้อจำกัดในด้านต่างๆ อาทิ ความสามารถในการก่อหนี้ และงบประมาณคงเหลือ เป็นต้น การเคลื่อนย้ายเงินลงทุนซึ่งมีแนวโน้มจะไหลเข้าสู่กลุ่มประเทศเกิดใหม่และแนวโน้มการแข็งค่าของเงินบาทจากการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และการปรับเพิ่มขึ้นของราคาทองคำ ด้านธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ในวันที่ 4 พ.ย.นี้ ไม่มีการปรับเปลี่ยนนโยบายตามคาด โดยยังคงดอกเบี้ยใน range 0 – 0.25% ขณะที่มองว่าความเห็นต่อนโยบาย และมุมมองต่อเศรษฐกิจจาก FOMC ไม่มีอะไรใหม่ แม้จะยังคงอยู่ใน stance ผ่อนปรนมาก […]
BFRMF Product Update Uncategorized
กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้เพื่อการเลี้ยงชีพ (BFRMF)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ ตั้งแต่ต้นปี 2563 ที่ผ่านมาอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลทั่วโลกค่อนข้างผันผวนและปรับตัวลดลงทุกช่วงอายุจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้เศรษฐกิจทั่วโลกหดตัวอย่างรุนแรง รัฐบาลและธนาคารกลางในหลายๆ ประเทศเร่งออกมาตรการสนับสนุนต่างๆ และดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย ทั้งการลดดอกเบี้ยและการอัดฉีดสภาพคล่องอย่างต่อเนื่อง โดยภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดเริ่มคลี่คลาย หลายประเทศเริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการปิดเมืองทำให้เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณฟื้นตัวจากจุดต่ำสุด (bottoming out) และนักลงทุนเริ่มกลับมาถือสินทรัพย์เสี่ยงเพิ่มมากขึ้น ในช่วง 2 เดือนที่เหลือของปี 2563 นักลงทุนยังต้องเผชิญกับความท้าทายจากปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อแนวโน้มเศรษฐกิจและความผันผวนในตลาดการเงิน ได้แก่ ความเสี่ยงจากการกลับมาระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศต่างๆ ทำให้ภาครัฐอาจต้องเลื่อนการเปิดเมืองหรืออาจต้องกลับไปใช้มาตรการปิดเมืองอีกครั้ง และก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยความกังวลนี้จะทยอยคลี่คลายเมื่อมีการแจกจ่ายวัคซีนเป็นการทั่วไป ความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลงขนาดของมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐยังคงมีความไม่แน่นอน จากข้อจำกัดในด้านต่างๆ อาทิ ความสามารถในการก่อหนี้ และงบประมาณคงเหลือ เป็นต้น การเคลื่อนย้ายเงินลงทุนซึ่งมีแนวโน้มจะไหลเข้าสู่กลุ่มประเทศเกิดใหม่และแนวโน้มการแข็งค่าของเงินบาทจากการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และการปรับเพิ่มขึ้นของราคาทองคำ ด้านธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ในวันที่ 4 พ.ย.นี้ ไม่มีการปรับเปลี่ยนนโยบายตามคาด โดยยังคงดอกเบี้ยใน range 0 – 0.25% ขณะที่มองว่าความเห็นต่อนโยบาย และมุมมองต่อเศรษฐกิจจาก FOMC ไม่มีอะไรใหม่ แม้จะยังคงอยู่ใน stance ผ่อนปรนมาก […]
กองทุนเปิดบัวหลวงมันนี่มาร์เก็ตเพื่อการเลี้ยงชีพ (MM-RMF)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ ตั้งแต่ต้นปี 2563 ที่ผ่านมาอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลทั่วโลกค่อนข้างผันผวนและปรับตัวลดลงทุกช่วงอายุจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้เศรษฐกิจทั่วโลกหดตัวอย่างรุนแรง รัฐบาลและธนาคารกลางในหลายๆ ประเทศเร่งออกมาตรการสนับสนุนต่างๆ และดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย ทั้งการลดดอกเบี้ยและการอัดฉีดสภาพคล่องอย่างต่อเนื่อง โดยภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดเริ่มคลี่คลาย หลายประเทศเริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการปิดเมืองทำให้เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณฟื้นตัวจากจุดต่ำสุด (bottoming out) และนักลงทุนเริ่มกลับมาถือสินทรัพย์เสี่ยงเพิ่มมากขึ้น ในช่วง 2 เดือนที่เหลือของปี 2563 นักลงทุนยังต้องเผชิญกับความท้าทายจากปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อแนวโน้มเศรษฐกิจและความผันผวนในตลาดการเงิน ได้แก่ ความเสี่ยงจากการกลับมาระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศต่างๆ ทำให้ภาครัฐอาจต้องเลื่อนการเปิดเมืองหรืออาจต้องกลับไปใช้มาตรการปิดเมืองอีกครั้ง และก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยความกังวลนี้จะทยอยคลี่คลายเมื่อมีการแจกจ่ายวัคซีนเป็นการทั่วไป ความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลงขนาดของมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐยังคงมีความไม่แน่นอน จากข้อจำกัดในด้านต่างๆ อาทิ ความสามารถในการก่อหนี้ และงบประมาณคงเหลือ เป็นต้น การเคลื่อนย้ายเงินลงทุนซึ่งมีแนวโน้มจะไหลเข้าสู่กลุ่มประเทศเกิดใหม่และแนวโน้มการแข็งค่าของเงินบาทจากการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และการปรับเพิ่มขึ้นของราคาทองคำ ด้านธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ในวันที่ 4 พ.ย.นี้ ไม่มีการปรับเปลี่ยนนโยบายตามคาด โดยยังคงดอกเบี้ยใน range 0 – 0.25% ขณะที่มองว่าความเห็นต่อนโยบาย และมุมมองต่อเศรษฐกิจจาก FOMC ไม่มีอะไรใหม่ แม้จะยังคงอยู่ใน stance ผ่อนปรนมาก […]
B-ASIA B-ASIARMF Product Update
กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นเอเชีย (B-ASIA)และกองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นเอเชียเพื่อการเลี้ยงชีพ (B-ASIARMF)
Highlight ประจำไตรมาส 4Q2020 1. ระดับมูลค่าดัชนี MSCI AC Asia ex Japan Index ปัจจุบันเทรดที่ระดับ FW P/E 18 x จากผลกำไรสุทธิ ปี 2020 ที่ออกมาไม่ดีอาจทำให้ดูเหมือนว่าจะไม่น่าลงทุน แต่หากท่านผู้ถือหน่วยรอที่จะกลับมาลงทุนเมื่อผลกำไรสุทธิเร่งตัวหลังก้าวเวลาเข้าสู่ปี 2021 นั้นอาจช้าเกินไป เพราะ 1.1 ในรอบนี้ภูมิภาคเอเชียเผชิญกับวิกฤติเศรษฐกิจ ช่วงที่หนี้สินภาครัฐอยู่ในระดับต่ำ ทำให้รัฐบาลสามารถดำเนินนโยบายการคลังได้อย่างคล่องตัว ไม่ต้องเกรงกลัวว่าจะต้องรีบรัดเข็มขัดด้านใช้จ่ายหลังวิกฤตครั้งนี้จบสิ้นลง 1.2 การฟื้นตัวโดยลำพังของจีนที่ไม่ต้องรอลุ้นว่าประเทศในกลุ่มพัฒนาแล้วจะออกมาตรการทางการคลังออกมาอย่างไรหรือปริมาณเท่าไร ในจังหวะที่มุมมองต่อผลประกอบการสดใส จะช่วยให้หุ้นกลุ่ม Cyclical/Value กลับมาสร้างผลตอบแทนที่ดีให้กับนักลงทุน 1.3 นักลงทุนต่างชาติขายเอเชียไปมากถึง 4.2 หมื่นล้านดอลลาร์ แต่ซื้อกลับเพียง 42% ของเงินที่หายไป ท่ามกลางการลงทุนแบบ Risk-On ทำให้ภูมิภาคเอเชียเป็น Asset Class ที่ต่างชาติเข้าลงทุนเพื่อหาผลตอบแทนที่ดีกว่าตลาดพัฒนาแล้วเช่น สหรัฐฯ ยุโรป […]
B-IR-FOF B-IR-FOFRMF Product Update Uncategorized
กองทุนเปิดฟันด์ออฟฟันด์บัวหลวงโครงสร้างพื้นฐานและอสังหาริมทรัพย์ (B-IR-FOF) และกองทุนเปิดฟันด์ออฟฟันด์บัวหลวงโครงสร้างพื้นฐาน&อสังหาริมทรัพย์เพื่อการเลี้ยงชีพ (B-IR-FOFRMF)
ภาพรวม Thailand REIT ดัชนีของกลุ่ม (Price Return) ปรับตัวเพิ่มขึ้นแต่น้อยกว่าตลาดในเดือน พ.ย. 2563 : ในเดือนพ.ย. 2563 ดัชนี PropertyFund/REIT เพิ่มขึ้น +8.9% m-o-m แต่แพ้ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ SET Index โดยรวมที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น +17.9% m-o-m เรามองว่าตลาดโดยรวมตอบสนองต่อข่าวดีการประกาศการพัฒนาวัคซีนต้านโควิด-19 ที่คาดว่าจะเริ่มมีการใช้ตั้งแต่ช่วงปลายปี 2563 เป็นต้นไป รวมถึงผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ที่เป็นปัจจัยบวกและส่งสัญญาณที่ดีต่อตลาดหุ้นทั่วโลก อย่างไรก็ดีช่วงปลายเดือน พ.ย. มีประกาศพบผู้ติดเชื้อโควิด-19 เพิ่มเติมในประเทศไทยที่อาจเกิดเป็นระลอกที่ 2ได้ ในเดือน พ.ย. นี้ หุ้นทุกกลุ่มปรับตัวเพิ่มขึ้น m-o-m หุ้นกลุ่ม Exhibition centre ปรับตัวเพิ่มขึ้นสูงสุด +17.7% m-o-m ตามด้วยกลุ่ม retail ปรับตัวเพิ่มขึ้น +16.7% m-o-m (จากที่ปรับลดลงมากที่สุด […]
กองทุนเปิดบัวหลวงโกลด์ฟันด์ (BGOLD) และกองทุนเปิดบัวหลวงโกลด์เพื่อการเลี้ยงชีพ (BGOLDRMF)
Highlight ประจำไตรมาส 4Q2020 1. นาย Peter Hug, Director, Global Trading, Kitco Metals เป็นผู้ที่มีชื่อเสียงด้านมุมมองต่อทิศทางราคาทองคำมาตั้งแต่ปี ค.ศ.1974 ชายผู้นี้มีประสบการณ์คาดการณ์ราคาทองคำได้อย่างแม่นยำทั้งขาขึ้นและขาลงมากกว่า 50 ปี เขา กล่าวว่า แม้ราคาทองคำหลุด 1,800 ดอลลาร์/ออนซ์ จากข่าวดีด้านการค้นพบวัคซีน COVID-19 และผลการเลือกตั้งสหรัฐฯ ที่ชัดเจนขึ้นนั้น แต่เทรนด์ระยะยาวจะยังคงเป็นขาขึ้นต่อเนื่อง ทั้งนี้ เกิดจากการที่ภาระหนี้สินของทางรัฐบาลกลางทั่วโลกที่ได้อัดฉีดเพิ่มทุนให้กับเศรษฐกิจ อัดฉีดกระตุ้น SME หรือแม้กระทั่งอุ้มหนี้สินที่เสียหายไปมากมายจากการเกิดสถานการณ์ COVID-19 ซึ่งการอัดฉีดเพิ่มทุนที่ว่านี้จะกินระยะเวลาไปอีกหนึ่งปีข้างหน้าเป็นอย่างน้อย แม้ตัวเลขเศรษฐกิจดีขึ้นก็จริงแต่ในภาคคนเดินถนนเอง จริงๆ แล้วตัวเลขการตกงานสหรัฐฯ ที่พุ่งสูง การต่อคิวรับอาหารที่ยาวกว่า 2-3 ไมล์จากฟู๊ดแบงค์ รายได้ของชนชั้นกลางที่ลดลงอย่างมหาศาลจากการตกงาน 6 เดือนต่อจากนี้ไม่เฉพาะรัฐบาลสหรัฐฯ แต่เป็นรัฐบาลทั่วโลกที่ต่างแจกจ่ายเงินเพื่อให้คนมีเงินใช้สอย ด้วยเหตุทั้งหมดที่กล่าวมานี้กระตุ้นให้เกิดเงินเฟ้อขึ้นในระบบ ทองคำในฐานะเป็นสินทรัพย์ที่ใช้เฮดจ์เพื่อต้านการเพิ่มขึ้นของเงินเฟ้อจะได้รับประโยชน์ปัจจัยดังกล่าว 2. ทาง State […]
กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นจีนเอแชร์เพื่อการเลี้ยงชีพ (B-CHINAARMF)
Highlight ประจำไตรมาส 4Q2020 1.ระดับมูลค่าตลาดจีน A-Shares สิ้นเดือน พ.ย. เมื่อวัดจาก FW P/E 16.7 x สูงกว่าค่าเฉลี่ย 10 ปีที่ระดับ 14 x นั้น อาจดูเหมือนว่าเทรดที่ราคาพรีเมี่ยมเพราะไม่ได้ถูกเหมือนกับช่วงในไตรมาสแรกของปี 1Q2020 แต่ตัวเลขดังกล่าวอยู่ในกรอบระยะเวลาที่มีลักษณะเฉพาะ กล่าวคือเป็นช่วงที่บริษัทจดทะเบียนได้รับการปรับลดคาดการณ์กำไรสุทธิลงจากสถานการณ์ COVID-19 จากนักลงทุน จึงไม่น่าแปลกใจที่ FW P/E multiple จะเทรดในระดับที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยในอดีต และยังมีมีปัจจัยอีก 2 ประการที่ทำให้หุ้นจีนเหมาะที่จะเทรด ณ ระดับ P/E ที่สูงขึ้น คือ 1) จีนเริ่มฟื้นตัวเป็นชาติแรก ทำให้ได้รับการคาดหวังว่าเศรษฐกิจจีนขยายตัวได้ในอัตรา 3% ต่อปี ในปีหน้าผู้จัดการมองอัตราการเติบโตกำไรสุทธิบริษัทจดทะเบียนระดับ 8-10% จากผลของ Low base ในปีนี้ 2) สภาพคล่องที่เพิ่มเติมเข้ามาในตลาด […]
กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นญี่ปุ่น (B-NIPPON)
Highlight ประจำไตรมาส 4Q2020 Nomura Securities Financial & Economic Research Centre ประมาณกำไรบริษัทจดทะเบียนญี่ปุ่นที่ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันการเงิน สำหรับรอบปีนี้ (สิ้นสุดเดือนมี.ค. 2021) ลดลง 23.0% YoY จากผลกระทบ COVID-19 ที่ยืดเยื้อแต่จะกลับมาฟื้นตัวเป็น +50.9% ในรอบปีหน้า (สิ้นสุดเดือนมี.ค. 2022) ยังมีปัจจัยเสี่ยงที่ต้องเฝ้าติดตาม ได้แก่ ความขัดแย้งทางการค้าที่กระทบกระเทือนสินค้าในกลุ่มสมาร์ทโฟนและสินค้ากลุ่มอื่นที่มีบริษัทญี่ปุ่นเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทาน ทำให้สินค้าญี่ปุ่นได้รับผลกระทบจากการขึ้นภาษีสินค้านำเข้าที่สหรัฐฯ กระทำกับจีน ความเสี่ยงด้านการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก นายกรัฐมนตรี Yoshihide Suga แสดงวิสัยทัศน์อย่างเต็มตัวในการปฎิรูปอย่างไร้รอยต่อจาก Abenomics ซึ่งได้แก่ การผ่อนคลายของนโยบายการเงินอย่างเต็มกำลัง การใช้จ่ายภาครัฐอย่างเต็มที่ การปฏิรูปที่ช่วยให้ญี่ปุ่นเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันเช่นการลดต้นทุนการใช้โทรศัพท์มือถือ โปรโมทการนำดิจิทัลมาใช้กับธุรกิจ การควบรวมกิจการของธนาคารภูมิภาค พันธมิตรและความร่วมมือกับสหรัฐฯ การวางตัวเป็นกลางกับจีน การให้หน่วยงานราชการยกเลิกการใช้ตราประทับที่เรียกว่า Hanko ในการเซนต์สัญญาและอนุมัติเอกสาร กองทุนหลักของ B-NIPPON มีธีมลงทุนโดยเน้นบริษัทที่มีผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้นที่มีความยั่งยืน (Sustainable […]