กองทุนผสมบัวหลวง 70/30 เพื่อการออม (BM70SSF) กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นไทยเพื่อการออม (BEQSSF)

กองทุนผสมบัวหลวง 70/30 เพื่อการออม (BM70SSF) กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นไทยเพื่อการออม (BEQSSF)

ตั้งแต่ต้นปี (YTD) ถึง 31 พ.ค. 2565 ตลาดหุ้นไทยให้ผลตอบแทนดีกว่าตลาดหุ้นโลกโดยทรงตัว 0% เทียบกับ S&P500 -13.0%, NASDAQ -23.0%, VIETNAM -14.0% HONG KONG -7.0% เดือน พ.ค. ที่ผ่านมา หุ้นไทยเผชิญกับ Sell in May เช่นเดียวกับตลาดอื่น แต่ดัชนีปรับตัวลดลงเพียง -0.8% ส่วนหนึ่งเกิดจากตัวเลข GDP งวด 1Q2565 โต 2.2% ดีกว่าคาด กำไรงวด 1Q2565 เท่ากับ 2.74 แสนล้านบาท เติบโต 10% YoY สิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพบริษัทจดทะเบียนไทยที่แข็งแกร่งในยามที่ปัจจัยภายนอกผันผวน โดย Fund flow ไหลเข้าตลาดหุ้นไทยเดือนพ.ค. เกิน 1 […]

กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) ที่ลงทุนในหุ้นไทย

กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) ที่ลงทุนในหุ้นไทย

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารทุนเพื่อการเลี้ยงชีพ (BERMF) กองทุนเปิดบัวหลวงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการเลี้ยงชีพv(IN-RMF)  กองทุนเปิดบัวหลวง Small-Mid Cap เพื่อการเลี้ยงชีพ (B-SM-RMF) กองทุนเปิดบัวหลวงสิริผลบรรษัทภิบาลเพื่อการเลี้ยงชีพ (BSIRIRMF)  กองทุนเปิดบัวหลวงปัจจัย 4 เพื่อการเลี้ยงชีพ (BBASICRMF) กองทุนเปิดบัวหลวงทศพลเพื่อการเลี้ยงชีพ (B-TOPTENRMF) ตั้งแต่ต้นปี (YTD) ถึง 31 พ.ค. 2565 ตลาดหุ้นไทยให้ผลตอบแทนดีกว่าตลาดหุ้นโลกโดยทรงตัว 0% เทียบกับ S&P500 -13.0%, NASDAQ -23.0%, VIETNAM -14.0% HONG KONG -7.0% เดือน พ.ค. ที่ผ่านมา หุ้นไทยเผชิญกับ Sell in May เช่นเดียวกับตลาดอื่น แต่ดัชนีปรับตัวลดลงเพียง -0.8% ส่วนหนึ่งเกิดจากตัวเลข GDP งวด 1Q2565 โต 2.2% […]

กองทุนรวมหุ้นระยะยาว (LTF)

กองทุนรวมหุ้นระยะยาว (LTF)

กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นระยะยาว (B-LTF) กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นระยะยาว 75/25 (BLTF75) กองทุนเปิดบัวหลวงปัจจัย 4 หุ้นระยะยาวปันผล (BBASICDLTF) กองทุนเปิดบัวหลวงทศพลหุ้นระยะยาว (B-TOPTENLTF) “การลงทุนใน LTF ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563 เป็นต้นไป ผู้ลงทุนไม่สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้” ตั้งแต่ต้นปี (YTD) ถึง 31 พ.ค. 2565 ตลาดหุ้นไทยให้ผลตอบแทนดีกว่าตลาดหุ้นโลกโดยทรงตัว 0% เทียบกับ S&P500 -13.0%, NASDAQ -23.0%, VIETNAM -14.0% HONG KONG -7.0% เดือน พ.ค. ที่ผ่านมา หุ้นไทยเผชิญกับ Sell in May เช่นเดียวกับตลาดอื่น แต่ดัชนีปรับตัวลดลงเพียง -0.8% ส่วนหนึ่งเกิดจากตัวเลข GDP งวด […]

กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นโกลบอล อินฟราสตรัคเจอร์ (B-GLOB-INFRA)

กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นโกลบอล อินฟราสตรัคเจอร์ (B-GLOB-INFRA)

Highlight ตั้งแต่ต้นปี 2022 หุ้นในสหรัฐและแคนาดาส่งผลบวกกับพอร์ตการลงทุน ในขณะที่หุ้นที่ส่งผลเชิงลบกับพอร์ต จะอยู่ในกลุ่มสื่อสาร ซึ่งได้รับแรงกดดันจากความกังวลเรื่องเงินเฟ้อ การขึ้นดอกเบี้ย และ Sector Rotation ออกจากหุ้นกลุ่มเติบโต ในภาวะที่มีความผันผวนเช่นนี้ การลงทุนในหุ้นที่เกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานทั่วโลก เน้นบริษัทที่มีกระแสเงินสดรับสม่ำเสมอ และ/หรือ มีรายรับที่มีความมั่นคงจากสัญญาระยะยาว และยังเป็นสินทรัพย์เพื่อป้องกันเงินเฟ้อได้ จึงมีความน่าสนใจ พอร์ตการลงทุน ตั้งแต่ต้นปี 2022 หุ้นในสหรัฐฯ และแคนาดาส่งผลบวกกับพอร์ตการลงทุน เช่น Pembina Pipeline ผู้ให้บริการขนส่งน้ำมันในแคนาดา บริษัทมีการแต่งตั้ง CEO และ COO  ซึ่งตลาดตอบรับเชิงบวก ราคาปรับตัวขึ้น 31% จากต้นปี และ Williams Companies บริษัทท่อส่งก๊าซธรรมชาติและผลิตกระแสไฟฟ้าของสหรัฐ   ราคาปรับตัวขึ้น 39% จากต้นปี ในขณะที่หุ้นที่ส่งผลเชิงลบกับพอร์ต จะอยู่ในกลุ่มสื่อสาร ซึ่งได้รับแรงกดดันจากความกังวลเรื่องเงินเฟ้อ การขึ้นดอกเบี้ย และ Sector Rotation […]

กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นญี่ปุ่น (B-NIPPON)

กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นญี่ปุ่น (B-NIPPON)

Highlight กลยุทธ์ของผู้จัดการกองทุนหลักเน้นลงทุนโดยพิจารณาจากหุ้นขนาดใหญ่ที่มีกำไรของกิจการแข็งแกร่ง มี ROE สูง (Blue Chip) และไม่เน้นลงทุนในหุ้นกลุ่มวัฏจักรมากนัก ทำให้พอร์ตการลงทุนเมื่อดูรายกลุ่มแล้ว จะเห็นว่ามีน้ำหนักลงทุนในกลุ่มการบริโภค การแพทย์และกลุ่มที่เป็น Defensive มากกว่าดัชนีชี้วัด ในขณะที่ลงทุนในกลุ่มสินค้าโภคภัณฑ์ การเงิน น้อยกว่าดัชนีชี้วัด ซึ่งตั้งแต่ต้นปีกลุ่มสินค้าโภคภัณฑ์และการเงินมีผลตอบแทนที่ดีจากปัจจัยเงินเฟ้อและความขัดแย้งระหว่างประเทศ ทำให้ผลการดำเนินงานของกองทุนน้อยกว่าดัชนีชี้วัด จากสถานการณ์ลงทุนปัจจุบัน แนวทางที่เป็นไปได้มากที่สุดที่ผู้จัดการกองทุนคาดการณ์ นั่นคือ อัตราเงินเฟ้อจะปรับตัวเข้าสู่สภาวะปกติ ซึ่งจะกระทบกับการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างค่อยเป็นค่อยไป และอัตราดอกเบี้ยจะเข้าสู่ภาวะสมดุลย์ หรือ Soft Landing การลงทุนในหุ้น Blue Chip ที่มีอัตราการทำกำไรเติบโตดีเป็นแนวทางการลงทุนที่เหมาะสมกับสถานการณ์ที่คาดการณ์ไว้ พอร์ตการลงทุน กลยุทธ์ของผู้จัดการกองทุนหลักเน้นลงทุนโดยพิจารณาจากหุ้นขนาดใหญ่ที่มีกำไรของกิจการแข็งแกร่ง มี ROE สูง (Blue Chip) และไม่เน้นลงทุนในหุ้นกลุ่มวัฏจักรมากนัก ทำให้พอร์ตการลงทุนเมื่อดูรายกลุ่มแล้ว จะเห็นว่ามีน้ำหนักลงทุนในกลุ่มการบริโภค การแพทย์และกลุ่มที่เป็น Defensive มากกว่าดัชนีชี้วัด ในขณะที่ลงทุนในกลุ่มสินค้าโภคภัณฑ์ การเงิน น้อยกว่าดัชนีชี้วัด ซึ่งตั้งแต่ต้นปีกลุ่มสินค้าโภคภัณฑ์และการเงินมีผลตอบแทนที่ดีจากปัจจัยเงินเฟ้อและความขัดแย้งระหว่างประเทศ ทำให้ผลการดำเนินงานของกองทุนน้อยกว่าดัชนีชี้วัด อย่างไรก็ตาม […]

กองทุนเปิดบัวหลวงมันนี่มาร์เก็ตเพื่อการเลี้ยงชีพ (MM-RMF)

กองทุนเปิดบัวหลวงมันนี่มาร์เก็ตเพื่อการเลี้ยงชีพ (MM-RMF)

ภาพรวมตลาด ธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) มีการประชุมในวันที่ 3 – 4 พ.ค. 2565 ที่ผ่านมา และมีมติเอกฉันท์ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย 50 bps สู่ระดับ 0.75-1.00% ซึ่งเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์ไว้ พร้อมทั้งประกาศแผนปรับลดขนาดงบดุล (QT) ซึ่งจะเริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือน มิ.ย. โดยเริ่มลดในอัตรา 4.75 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อเดือน เป็นระยะเวลา 3 เดือน และหลังจากนั้นจะปรับเป็น 9.5 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อเดือน นอกจากนี้ นาย Jerome Powell ประธาน Fed กล่าวเพิ่มเติมว่าคณะกรรมการมีความเห็นว่าการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเพิ่มเติมครั้งละ 50 bps อาจยังมีความจำเป็นในการประชุม 2-3 เดือนข้างหน้า ขณะที่ระบุถึงกรณีการปรับขึ้น 75 bps ว่าไม่ใช่สิ่งที่คณะกรรมการกำลังพิจารณาในขณะนี้ ธนาคารกลางยุโรป (ECB) มีมติคงนโยบายการเงินตามเดิมในการประชุมวันที่ 14 เม.ย. […]

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ภาครัฐ  (B-TREASURY)

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ภาครัฐ (B-TREASURY)

ภาพรวมตลาด ภาวะตลาดตราสารหนี้ไทยในเดือน เม.ย. อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะสั้นอายุไม่เกิน 1 ปี ปรับเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 4 bps ส่วนอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลตั้งแต่อายุ 1 ปีขึ้นไป ปรับเพิ่มขึ้นในช่วง 10 ถึง 72 bps สำหรับพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปี ณ สิ้นเดือน เม.ย. อัตราผลตอบแทนอยู่ที่ 2.85% เพิ่มขึ้น 50 bps จากสิ้นเดือนก่อน เทียบกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ อายุ 10 ปี อยู่ที่ 2.89% เพิ่มขึ้น 57 bps โดยปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อตลาดตราสารหนี้ในเดือนนี้คือการส่งสัญญาณการใช้นโยบายการเงินเข้มงวดเร็วขึ้นของธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) ท่ามกลางอัตราเงินเฟ้อที่ขยายตัวสูงขึ้นมาก (อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเดือน มี.ค. ขยายตัว 8.5% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นระดับสูงสุดในรอบ 40 […]

กองทุนเปิดบัวหลวงธนทวี (B-TNTV)

กองทุนเปิดบัวหลวงธนทวี (B-TNTV)

ภาพรวมตลาด ภาวะตลาดตราสารหนี้ไทยในเดือน เม.ย. อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะสั้นอายุไม่เกิน 1 ปี ปรับเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 4 bps ส่วนอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลตั้งแต่อายุ 1 ปีขึ้นไป ปรับเพิ่มขึ้นในช่วง 10 ถึง 72 bps สำหรับพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปี ณ สิ้นเดือน เม.ย. อัตราผลตอบแทนอยู่ที่ 2.85% เพิ่มขึ้น 50 bps จากสิ้นเดือนก่อน เทียบกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ อายุ 10 ปี อยู่ที่ 2.89% เพิ่มขึ้น 57 bps โดยปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อตลาดตราสารหนี้ในเดือนนี้คือการส่งสัญญาณการใช้นโยบายการเงินเข้มงวดเร็วขึ้นของธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) ท่ามกลางอัตราเงินเฟ้อที่ขยายตัวสูงขึ้นมาก (อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเดือน มี.ค. ขยายตัว 8.5% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นระดับสูงสุดในรอบ 40 […]

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้เพื่อการเลี้ยงชีพ (BFRMF)

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้เพื่อการเลี้ยงชีพ (BFRMF)

ภาพรวมตลาด ภาวะตลาดตราสารหนี้ไทยในเดือน เม.ย. อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะสั้นอายุไม่เกิน 1 ปี ปรับเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 4 bps ส่วนอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลตั้งแต่อายุ 1 ปีขึ้นไป ปรับเพิ่มขึ้นในช่วง 10 ถึง 72 bps สำหรับพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปี ณ สิ้นเดือน เม.ย. อัตราผลตอบแทนอยู่ที่ 2.85% เพิ่มขึ้น 50 bps จากสิ้นเดือนก่อน เทียบกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ อายุ 10 ปี อยู่ที่ 2.89% เพิ่มขึ้น 57 bps โดยปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อตลาดตราสารหนี้ในเดือนนี้คือการส่งสัญญาณการใช้นโยบายการเงินเข้มงวดเร็วขึ้นของธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) ท่ามกลางอัตราเงินเฟ้อที่ขยายตัวสูงขึ้นมาก (อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเดือน มี.ค. ขยายตัว 8.5% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นระดับสูงสุดในรอบ 40 […]

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ (BFIXED)

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ (BFIXED)

ภาพรวมตลาด ธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) มีการประชุมในวันที่ 3 – 4 พ.ค. 2565 ที่ผ่านมา และมีมติเอกฉันท์ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย 50 bps สู่ระดับ 0.75-1.00% ซึ่งเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์ไว้ พร้อมทั้งประกาศแผนปรับลดขนาดงบดุล (QT) ซึ่งจะเริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือน มิ.ย. โดยเริ่มลดในอัตรา 4.75 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อเดือน เป็นระยะเวลา 3 เดือน และหลังจากนั้นจะปรับเป็น 9.5 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อเดือน นอกจากนี้ นาย Jerome Powell ประธาน Fed กล่าวเพิ่มเติมว่าคณะกรรมการมีความเห็นว่าการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเพิ่มเติมครั้งละ 50 bps อาจยังมีความจำเป็นในการประชุม 2-3 เดือนข้างหน้า ขณะที่ระบุถึงกรณีการปรับขึ้น 75 bps ว่าไม่ใช่สิ่งที่คณะกรรมการกำลังพิจารณาในขณะนี้ ธนาคารกลางยุโรป (ECB) มีมติคงนโยบายการเงินตามเดิมในการประชุมวันที่ […]