กองทุนบัวหลวงเสนอขาย IPO “BP2/20(AI)” วันที่ 4-9 มิ.ย.นี้
กองทุนบัวหลวงเสนอขาย IPO ‘กองทุนรวมบัวหลวงธนสารพลัส 2/20 ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย’ หรือ BP2/20 (AI) ซึ่งเป็นเทอมฟันด์ อายุ 6 เดือน วันที่ 4-9 มิถุนายน 2563 นี้ ลงทุนขั้นต่ำ 500,000 บาท เป็นทางเลือกให้ผู้ลงทุนที่มองหาการลงทุนในตราสารหนี้ต่างประเทศ เพื่อโอกาสรับผลตอบแทนที่เหมาะสม รายงานข่าวจาก บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม บัวหลวง จำกัด เปิดเผยว่า กองทุนบัวหลวงเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรก (IPO) กองทุนรวมบัวหลวงธนสารพลัส 2/20 ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย หรือ BP2/20 (AI) ระหว่างวันที่ 4-9 มิถุนายน 2563 นี้ โดยเสนอขายในราคา 10 บาทต่อหน่วย และผู้ลงทุนจะต้องจองซื้อครั้งแรกขั้นต่ำ 500,000 บาท กองทุนนี้ เป็นกองทุนที่มีกำหนดอายุโครงการ (เทอมฟันด์) […]
B-TREASURY Product Update Uncategorized
กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ภาครัฐ (B-TREASURY)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ ไตรมาสแรกเริ่มต้นด้วยความคาดหวังว่าปี 2563 น่าจะเป็นปีที่ดีสำหรับนักลงทุน เพราะปัญหาสงครามการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีน มีแนวโน้มการเจรจาที่ดีขึ้น นโยบายการเงินของธนาคารกลางหลายประเทศผ่อนคลายมีการปรับลดดอกเบี้ยหลายครั้งในปี 2562 แต่แล้วสิ่งต่างๆ ก็เปลี่ยนไปเมื่อวิกฤติโรคระบาด COVID-19 ทวีความรุนแรง จนลุกลามเป็นวิกฤติเศรษฐกิจที่มีหนทางรับมือทางเดียวคือ หยุดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม ในช่วงไตรมาสแรกของปีนี้ ด้วยความที่ COVID-19 เป็นสิ่งที่ยังไม่มีใครรู้จัก ความไม่รู้ ก่อให้เกิดความเสี่ยง (ความไม่แน่นอน) มากมาย ส่งผลให้ราคาสินทรัพย์ต่างๆ ปรับตัวลง แม้จะเดาได้ยาก ว่าสถานการณ์ของโรคระบาดจะเลวร้ายกว่านี้หรือไม่ แต่เราเชื่อว่าจุดเลวร้ายที่สุดของความตื่นกลัว (panic) ในตลาดเงินตลาดทุนน่าจะได้ผ่านไปแล้ว สิ่งที่น่าจะเกิดขึ้นต่อไปคือความพยายามหาสมดุลใหม่ เช่น การทยอยเปิดเศรษฐกิจแบบค่อยเป็นค่อยไป อย่างในไทย จีน และเกาหลี เพราะไม่ว่าอย่างไร คงไม่สามารถหยุดกิจกรรมทางเศรษฐกิจไปได้ตลอด แต่เราก็ไม่อาจยอมให้เกิดการระบาดรุนแรงกลับมาอีกครั้ง ทางออกจึงน่าจะเป็นจุดสมดุลระหว่างด้านสุขภาพและเศรษฐกิจ สำหรับปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อตลาดตราสารหนี้ในปี 2563 นี้ มีปัจจัยที่สำคัญ ได้แก่ ความกังวลต่อการแพร่ระบาดของ COVID-19 และผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก ซึ่งจะเป็นปัจจัยให้เงินลงทุนไหลเข้าสินทรัพย์ปลอดภัย […]
กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้เพื่อการเลี้ยงชีพ (BFRMF)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ ไตรมาสแรกเริ่มต้นด้วยความคาดหวังว่าปี 2563 น่าจะเป็นปีที่ดีสำหรับนักลงทุน เพราะปัญหาสงครามการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีน มีแนวโน้มการเจรจาที่ดีขึ้น นโยบายการเงินของธนาคารกลางหลายประเทศผ่อนคลายมีการปรับลดดอกเบี้ยหลายครั้งในปี 2562 แต่แล้วสิ่งต่างๆ ก็เปลี่ยนไปเมื่อวิกฤติโรคระบาด COVID-19 ทวีความรุนแรง จนลุกลามเป็นวิกฤติเศรษฐกิจที่มีหนทางรับมือทางเดียวคือ หยุดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม ในช่วงไตรมาสแรกของปีนี้ ด้วยความที่ COVID-19 เป็นสิ่งที่ยังไม่มีใครรู้จัก ความไม่รู้ ก่อให้เกิดความเสี่ยง (ความไม่แน่นอน) มากมาย ส่งผลให้ราคาสินทรัพย์ต่างๆ ปรับตัวลง แม้จะเดาได้ยาก ว่าสถานการณ์ของโรคระบาดจะเลวร้ายกว่านี้หรือไม่ แต่เราเชื่อว่าจุดเลวร้ายที่สุดของความตื่นกลัว (panic) ในตลาดเงินตลาดทุนน่าจะได้ผ่านไปแล้ว สิ่งที่น่าจะเกิดขึ้นต่อไปคือความพยายามหาสมดุลใหม่ เช่น การทยอยเปิดเศรษฐกิจแบบค่อยเป็นค่อยไป อย่างในไทย จีน และเกาหลี เพราะไม่ว่าอย่างไร คงไม่สามารถหยุดกิจกรรมทางเศรษฐกิจไปได้ตลอด แต่เราก็ไม่อาจยอมให้เกิดการระบาดรุนแรงกลับมาอีกครั้ง ทางออกจึงน่าจะเป็นจุดสมดุลระหว่างด้านสุขภาพและเศรษฐกิจ สำหรับปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อตลาดตราสารหนี้ในปี 2563 นี้ มีปัจจัยที่สำคัญ ได้แก่ ความกังวลต่อการแพร่ระบาดของ COVID-19 และผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก ซึ่งจะเป็นปัจจัยให้เงินลงทุนไหลเข้าสินทรัพย์ปลอดภัย […]
กองทุนเปิดบัวหลวงธนทวี (B-TNTV)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ ไตรมาสแรกเริ่มต้นด้วยความคาดหวังว่าปี 2563 น่าจะเป็นปีที่ดีสำหรับนักลงทุน เพราะปัญหาสงครามการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีน มีแนวโน้มการเจรจาที่ดีขึ้น นโยบายการเงินของธนาคารกลางหลายประเทศผ่อนคลายมีการปรับลดดอกเบี้ยหลายครั้งในปี 2562 แต่แล้วสิ่งต่างๆ ก็เปลี่ยนไปเมื่อวิกฤติโรคระบาด COVID-19 ทวีความรุนแรง จนลุกลามเป็นวิกฤติเศรษฐกิจที่มีหนทางรับมือทางเดียวคือ หยุดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม ในช่วงไตรมาสแรกของปีนี้ ด้วยความที่ COVID-19 เป็นสิ่งที่ยังไม่มีใครรู้จัก ความไม่รู้ ก่อให้เกิดความเสี่ยง (ความไม่แน่นอน) มากมาย ส่งผลให้ราคาสินทรัพย์ต่างๆ ปรับตัวลง แม้จะเดาได้ยาก ว่าสถานการณ์ของโรคระบาดจะเลวร้ายกว่านี้หรือไม่ แต่เราเชื่อว่าจุดเลวร้ายที่สุดของความตื่นกลัว (panic) ในตลาดเงินตลาดทุนน่าจะได้ผ่านไปแล้ว สิ่งที่น่าจะเกิดขึ้นต่อไปคือความพยายามหาสมดุลใหม่ เช่น การทยอยเปิดเศรษฐกิจแบบค่อยเป็นค่อยไป อย่างในไทย จีน และเกาหลี เพราะไม่ว่าอย่างไร คงไม่สามารถหยุดกิจกรรมทางเศรษฐกิจไปได้ตลอด แต่เราก็ไม่อาจยอมให้เกิดการระบาดรุนแรงกลับมาอีกครั้ง ทางออกจึงน่าจะเป็นจุดสมดุลระหว่างด้านสุขภาพและเศรษฐกิจ สำหรับปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อตลาดตราสารหนี้ในปี 2563 นี้ มีปัจจัยที่สำคัญ ได้แก่ ความกังวลต่อการแพร่ระบาดของ COVID-19 และผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก ซึ่งจะเป็นปัจจัยให้เงินลงทุนไหลเข้าสินทรัพย์ปลอดภัย […]
BFIXED Product Update Uncategorized
กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ (BFIXED)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ ไตรมาสแรกเริ่มต้นด้วยความคาดหวังว่าปี 2563 น่าจะเป็นปีที่ดีสำหรับนักลงทุน เพราะปัญหาสงครามการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีน มีแนวโน้มการเจรจาที่ดีขึ้น นโยบายการเงินของธนาคารกลางหลายประเทศผ่อนคลายมีการปรับลดดอกเบี้ยหลายครั้งในปี 2562 แต่แล้วสิ่งต่างๆ ก็เปลี่ยนไปเมื่อวิกฤติโรคระบาด COVID-19 ทวีความรุนแรง จนลุกลามเป็นวิกฤติเศรษฐกิจที่มีหนทางรับมือทางเดียวคือ หยุดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม ในช่วงไตรมาสแรกของปีนี้ ด้วยความที่ COVID-19 เป็นสิ่งที่ยังไม่มีใครรู้จัก ความไม่รู้ ก่อให้เกิดความเสี่ยง (ความไม่แน่นอน) มากมาย ส่งผลให้ราคาสินทรัพย์ต่างๆ ปรับตัวลง แม้จะเดาได้ยาก ว่าสถานการณ์ของโรคระบาดจะเลวร้ายกว่านี้หรือไม่ แต่เราเชื่อว่าจุดเลวร้ายที่สุดของความตื่นกลัว (panic) ในตลาดเงินตลาดทุนน่าจะได้ผ่านไปแล้ว สิ่งที่น่าจะเกิดขึ้นต่อไปคือความพยายามหาสมดุลใหม่ เช่น การทยอยเปิดเศรษฐกิจแบบค่อยเป็นค่อยไป อย่างในไทย จีน และเกาหลี เพราะไม่ว่าอย่างไร คงไม่สามารถหยุดกิจกรรมทางเศรษฐกิจไปได้ตลอด แต่เราก็ไม่อาจยอมให้เกิดการระบาดรุนแรงกลับมาอีกครั้ง ทางออกจึงน่าจะเป็นจุดสมดุลระหว่างด้านสุขภาพและเศรษฐกิจ สำหรับปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อตลาดตราสารหนี้ในปี 2563 นี้ มีปัจจัยที่สำคัญ ได้แก่ ความกังวลต่อการแพร่ระบาดของ COVID-19 และผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก ซึ่งจะเป็นปัจจัยให้เงินลงทุนไหลเข้าสินทรัพย์ปลอดภัย […]
กองทุนเปิดบัวหลวงมันนี่มาร์เก็ตเพื่อการเลี้ยงชีพ (MM-RMF)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ ไตรมาสแรกเริ่มต้นด้วยความคาดหวังว่าปี 2563 น่าจะเป็นปีที่ดีสำหรับนักลงทุน เพราะปัญหาสงครามการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีน มีแนวโน้มการเจรจาที่ดีขึ้น นโยบายการเงินของธนาคารกลางหลายประเทศผ่อนคลายมีการปรับลดดอกเบี้ยหลายครั้งในปี 2562 แต่แล้วสิ่งต่างๆ ก็เปลี่ยนไปเมื่อวิกฤติโรคระบาด COVID-19 ทวีความรุนแรง จนลุกลามเป็นวิกฤติเศรษฐกิจที่มีหนทางรับมือทางเดียวคือ หยุดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม ในช่วงไตรมาสแรกของปีนี้ ด้วยความที่ COVID-19 เป็นสิ่งที่ยังไม่มีใครรู้จัก ความไม่รู้ ก่อให้เกิดความเสี่ยง (ความไม่แน่นอน) มากมาย ส่งผลให้ราคาสินทรัพย์ต่างๆ ปรับตัวลง แม้จะเดาได้ยาก ว่าสถานการณ์ของโรคระบาดจะเลวร้ายกว่านี้หรือไม่ แต่เราเชื่อว่าจุดเลวร้ายที่สุดของความตื่นกลัว (panic) ในตลาดเงินตลาดทุนน่าจะได้ผ่านไปแล้ว สิ่งที่น่าจะเกิดขึ้นต่อไปคือความพยายามหาสมดุลใหม่ เช่น การทยอยเปิดเศรษฐกิจแบบค่อยเป็นค่อยไป อย่างในไทย จีน และเกาหลี เพราะไม่ว่าอย่างไร คงไม่สามารถหยุดกิจกรรมทางเศรษฐกิจไปได้ตลอด แต่เราก็ไม่อาจยอมให้เกิดการระบาดรุนแรงกลับมาอีกครั้ง ทางออกจึงน่าจะเป็นจุดสมดุลระหว่างด้านสุขภาพและเศรษฐกิจ สำหรับปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อตลาดตราสารหนี้ในปี 2563 นี้ มีปัจจัยที่สำคัญ ได้แก่ ความกังวลต่อการแพร่ระบาดของ COVID-19 และผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก ซึ่งจะเป็นปัจจัยให้เงินลงทุนไหลเข้าสินทรัพย์ปลอดภัย […]
BTSGIF News Update Press Release
BTSGIF เตรียมนำกระแสเงินสดจากการดำเนินงานไตรมาส 4 ปี 2562/2563 จ่ายคืนเงินทุนผู้ถือหน่วย 0.130 บาทต่อหน่วย วันที่ 29 มิ.ย. นี้
กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทีเอสโกรท (BTSGIF) เผยไตรมาส 4 ปี 2562/2563 มีรายได้จากการลงทุนสุทธิ 962.5 ล้านบาท มีอัตรากำไรจากรายได้จากการลงทุนสุทธิ 98.0% จึงเร่งนำกระแสเงินสดจากการดำเนินงานไตรมาส 4 ปี 2562/2563 จ่ายคืนเงินทุนผู้ถือหน่วย 0.130 บาทต่อหน่วย วันที่ 29 มิถุนายนนี้ ขณะที่ผลการดำเนินงาน ทั้งปี 2562/2563 มีรายได้จากการลงทุนสุทธิ 4,730 ล้านบาท มีอัตรากำไรจากรายได้จากการลงทุนสุทธิ 98.2% จ่ายเงินให้ผู้ถือหน่วยได้ 0.775 บาทต่อหน่วย นายพรชลิต พลอยกระจ่าง รองกรรมการผู้จัดการ Head of Real Estate & Infrastructure Investment บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม บัวหลวง จำกัด (กองทุนบัวหลวง) เปิดเผยว่า กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทีเอสโกรท […]
กองทุนเปิดบัวหลวงเพิ่มพูน (B-ENHANCED)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ ไตรมาสแรกเริ่มต้นด้วยความคาดหวังว่าปี 2563 น่าจะเป็นปีที่ดีสำหรับนักลงทุน เพราะปัญหาสงครามการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีน มีแนวโน้มการเจรจาที่ดีขึ้น นโยบายการเงินของธนาคารกลางหลายประเทศผ่อนคลายมีการปรับลดดอกเบี้ยหลายครั้งในปี 2562 แต่แล้วสิ่งต่างๆ ก็เปลี่ยนไปเมื่อวิกฤติโรคระบาด COVID-19 ทวีความรุนแรง จนลุกลามเป็นวิกฤติเศรษฐกิจที่มีหนทางรับมือทางเดียวคือ หยุดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม ในช่วงไตรมาสแรกของปีนี้ ด้วยความที่ COVID-19 เป็นสิ่งที่ยังไม่มีใครรู้จัก ความไม่รู้ ก่อให้เกิดความเสี่ยง (ความไม่แน่นอน) มากมาย ส่งผลให้ราคาสินทรัพย์ต่างๆ ปรับตัวลง แม้จะเดาได้ยาก ว่าสถานการณ์ของโรคระบาดจะเลวร้ายกว่านี้หรือไม่ แต่เราเชื่อว่าจุดเลวร้ายที่สุดของความตื่นกลัว (panic) ในตลาดเงินตลาดทุนน่าจะได้ผ่านไปแล้ว สิ่งที่น่าจะเกิดขึ้นต่อไปคือความพยายามหาสมดุลใหม่ เช่น การทยอยเปิดเศรษฐกิจแบบค่อยเป็นค่อยไป อย่างในไทย จีน และเกาหลี เพราะไม่ว่าอย่างไร คงไม่สามารถหยุดกิจกรรมทางเศรษฐกิจไปได้ตลอด แต่เราก็ไม่อาจยอมให้เกิดการระบาดรุนแรงกลับมาอีกครั้ง ทางออกจึงน่าจะเป็นจุดสมดุลระหว่างด้านสุขภาพและเศรษฐกิจ สำหรับปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อตลาดตราสารหนี้ในปี 2563 นี้ มีปัจจัยที่สำคัญ ได้แก่ ความกังวลต่อการแพร่ระบาดของ COVID-19 และผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก ซึ่งจะเป็นปัจจัยให้เงินลงทุนไหลเข้าสินทรัพย์ปลอดภัย […]
หุ้นไทยวันที่ 1 มิ.ย. 2563 ปิดตลาดที่ 1,352.37 จุด เพิ่มขึ้น 9.52 จุด
ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 1 มิ.ย. 2563 ปิดตลาดที่ 1,352.37 จุด เพิ่มขึ้น 9.52 จุด หรือ 0.71% โดยระหว่างวันสูงสุดที่ 1,362.46 จุด ต่ำสุดที่ 1,348.99 จุด มูลค่าการซื้อขาย 65,154.66 ล้านบาท หลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายสูงสุด 5 อันดับได้แก่ 1.CPALL ปิดที่ 70.75 บาท เพิ่มขึ้น 0.25 บาท มูลค่าการซื้อขาย 2,453.01 ลบ. 2.SUPER ปิดที่ 0.90 บาท เพิ่มขึ้น 0.09 บาท มูลค่าการซื้อขาย 2,293.65 ลบ. 3.PTTGC ปิดที่ 45.50 บาท เพิ่มขึ้น 2.50 […]
Fund Comment
Fund Comment พฤษภาคม 2563 : มุมมองตลาดตราสารหนี้
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยในเดือน พ.ค. ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลง ตามทิศทางของ กนง. ที่มีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยในวันที่ 20 พ.ค. มาอยู่ที่ระดับ 0.50% จากความกังวลด้านภาวะเศรษฐกิจไทยที่มีโอกาสหดตัวมากกว่าที่คาด อัตราเงินเฟ้อมีแนวโน้มติดลบมากกว่าที่คาดจากปัจจัยของราคาพลังงานที่ลดลงเป็นหลัก อีกทั้งความกังวลด้านเสถียรภาพของระบบการเงินที่เปราะบางมากขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจ โดยอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรุ่นอายุคงเหลือไม่เกิน 5 ปี ปรับลดลงในช่วงระหว่าง -4 ถึง -11 bps MTD ซึ่งอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรุ่นอายุคงเหลือ 5 ปี ณ สิ้นเดือน พ.ค. อยู่ที่ระดับ 0.82% (-9 bps MTD) อย่างไรก็ตาม พันธบัตรระยะยาวรุ่น 10-20ปี ปรับเพิ่มขึ้น 3 ถึง 13 bps MTD จากแรงขายของนักลงทุน เนื่องด้วยตลาดได้คาดการณ์ถึงปริมาณพันธบัตรที่จะเพิ่มขึ้นจากนโยบายการใช้จ่ายเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจของภาครัฐ ซึ่งมีจำนวนสูงกว่า 6 แสนล้านบาท ในปีงบประมาณ 2563 ส่งผลให้อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรุ่นอายุคงเหลือ […]