กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ (BFIXED)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ ตั้งแต่ต้นปี 2563 ที่ผ่านมาอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลทั่วโลกค่อนข้างผันผวนและปรับตัวลดลงทุกช่วงอายุจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้เศรษฐกิจทั่วโลกหดตัวอย่างรุนแรง รัฐบาลและธนาคารกลางในหลายๆ ประเทศเร่งออกมาตรการสนับสนุนต่างๆ และดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย ทั้งการลดดอกเบี้ยและการอัดฉีดสภาพคล่องอย่างต่อเนื่อง โดยภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดเริ่มคลี่คลาย หลายประเทศเริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการปิดเมืองทำให้เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณฟื้นตัวจากจุดต่ำสุด (bottoming out) และนักลงทุนเริ่มกลับมาถือสินทรัพย์เสี่ยงเพิ่มมากขึ้น ในช่วง 2 เดือนที่เหลือของปี 2563 นักลงทุนยังต้องเผชิญกับความท้าทายจากปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อแนวโน้มเศรษฐกิจและความผันผวนในตลาดการเงิน ได้แก่ ความเสี่ยงจากการกลับมาระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศต่างๆ ทำให้ภาครัฐอาจต้องเลื่อนการเปิดเมืองหรืออาจต้องกลับไปใช้มาตรการปิดเมืองอีกครั้ง และก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยความกังวลนี้จะทยอยคลี่คลายเมื่อมีการแจกจ่ายวัคซีนเป็นการทั่วไป ความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลงขนาดของมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐยังคงมีความไม่แน่นอน จากข้อจำกัดในด้านต่างๆ อาทิ ความสามารถในการก่อหนี้ และงบประมาณคงเหลือ เป็นต้น การเคลื่อนย้ายเงินลงทุนซึ่งมีแนวโน้มจะไหลเข้าสู่กลุ่มประเทศเกิดใหม่และแนวโน้มการแข็งค่าของเงินบาทจากการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และการปรับเพิ่มขึ้นของราคาทองคำ ด้านธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ในวันที่ 4 พ.ย.นี้ ไม่มีการปรับเปลี่ยนนโยบายตามคาด โดยยังคงดอกเบี้ยใน range 0 – 0.25% ขณะที่มองว่าความเห็นต่อนโยบาย และมุมมองต่อเศรษฐกิจจาก FOMC ไม่มีอะไรใหม่ แม้จะยังคงอยู่ใน stance ผ่อนปรนมาก […]
เทสลาเตรียมส่งตัวแทนบุกอินโดนีเซียเพื่อดูความเป็นไปได้ในการเข้าไปลงทุน
สำนักข่าวรอยเตอร์ส รายงานว่า เทสลา ผู้ผลิตรถยนต์สหรัฐฯ เตรียมส่งตัวแทนไปยังอินโดนีเซียเดือนหน้าเพื่อหารือเกี่ยวกับศักยภาพในการลงทุนในห่วงโซ่อุปทานสำหรับรถยนต์พลังงานไฟฟ้า นายโจโค วิโดโด หรือ โจโควี ประธานาธิบดีอินโดนีเซีย มีความพยายามโน้มน้าวให้เก็บสำรองนิกเกิลหลายครั้ง โดยก่อนหน้านี้ เขา บอกกับรอยเตอร์สว่า นี่คือสิ่งสำคัญ เพราะเรามีแผนที่จะทำให้อินโดนีเซียเป็นผู้ผลิตแบตเตอรี่ลิเธียมที่ใหญ่ที่สุด และเรามีนิกเกิลสำรองจำนวนมากที่สุด กระทรวงการเดินเรือและการลงทุน เผยว่า ประธานาธิบดีโจโควี และ Luhut Pandjaitan ผู้ประสานงานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการเดินเรือและการลงทุน จะมีการหารือทางโทรศัพท์กับนายอีลอน มัสก์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เทสลา ในวันศุกร์เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสที่เทสลาจะเข้ามาลงทุนในอินโดนีเซีย Luhut กล่าวกับรอยเตอร์สเมื่อเดือนก่อนว่า นี่ถือเป็นโอกาสอันดีมากๆ ที่บริษัทต่างๆ ต้องการลงทุนในกระบวกนารผลิตนิกเกิลที่อินโดนีเซียเพื่อลดต้นทุน มัสก์ กล่าวว่า เขาวางแผนที่จะนำเสนอสัญญาขนาดใหญ่มากสำหรับระยะยาว ตราบเท่าที่ขุดนิกเกิลได้อย่างมีประสิทธิภาพและในเส้นทางที่มีการใส่ใจเรื่องสิ่งแวดล้อม อินโดนีเซียมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาห่วงโซ่อุปทานโดยสมบูรณ์แบบสำหรับนิกเกิลในบ้านของตัวเอง โดยเฉพาะการสกัดสารเคมีแบตเตอรี่ การผลิตแบตเตอรี่ และการสร้างรถยนต์ไฟฟ้า
News Update TRIGGER6-21 Uncategorized
แจ้งปิดการเสนอขายก่อนครบกำหนดเวลาเสนอขายครั้งแรก (IPO) กองทุนเปิดบัวหลวงทริกเกอร์ 6-21 (TRIGGER6-21)
บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม บัวหลวง จำกัด ขอเรียนให้ทุกท่านทราบว่ากองทุนเปิดบัวหลวงทริกเกอร์ 6-21 (TRIGGER6-21) ซึ่งเป็นกองทุนรวมผสม ที่มีนโยบายกระจายการลงทุนในตราสารหนี้ และ/หรือตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน ตราสารทุน หน่วยลงทุนของกองทุนรวม และเงินฝากหรือตราสารเทียบเท่าเงินฝาก ในสัดส่วนตั้งแต่ 0% ถึง 100% ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน โดยกำหนดเสนอขายครั้งแรก (IPO) ระหว่างวันที่ 14 – 16 ธันวาคม 2563 ด้วยขนาดกองทุน 1,500 ล้านบาท นั้น ปรากฎว่ากองทุนดังกล่าวได้รับความสนใจจองซื้อหน่วยลงทุนจากผู้ลงทุนเป็นจำนวนมาก เป็นผลทำให้ขนาดกองทุนที่ออกเสนอขายเต็มจำนวนที่กำหนดในหนังสือชี้ชวนแล้วในวันที่ 14 ธันวาคม 2563 บริษัทจัดการจึงขอประกาศแจ้งปิดการเสนอขายกองทุนตั้งแต่วันที่ดังกล่าวเป็นต้นไป เพื่อบริษัทจักได้นำไปจดทะเบียนกองทุนรวมกับสำนักงาน ก.ล.ต. โดยเร็วต่อไป ในโอกาสนี้ บริษัทขอขอบพระคุณทุกท่านที่ให้ความไว้วางใจลงทุนกับกองทุนบัวหลวงอย่างสมํ่าเสมอตลอดมา ประกาศ ณ วันที่ 14 ธันวาคม 2563 จึงเรียนมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน กองทุนบัวหลวง
กองทุนเปิดบัวหลวงธนทวี (B-TNTV)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ ตั้งแต่ต้นปี 2563 ที่ผ่านมาอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลทั่วโลกค่อนข้างผันผวนและปรับตัวลดลงทุกช่วงอายุจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้เศรษฐกิจทั่วโลกหดตัวอย่างรุนแรง รัฐบาลและธนาคารกลางในหลายๆ ประเทศเร่งออกมาตรการสนับสนุนต่างๆ และดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย ทั้งการลดดอกเบี้ยและการอัดฉีดสภาพคล่องอย่างต่อเนื่อง โดยภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดเริ่มคลี่คลาย หลายประเทศเริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการปิดเมืองทำให้เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณฟื้นตัวจากจุดต่ำสุด (bottoming out) และนักลงทุนเริ่มกลับมาถือสินทรัพย์เสี่ยงเพิ่มมากขึ้น ในช่วง 2 เดือนที่เหลือของปี 2563 นักลงทุนยังต้องเผชิญกับความท้าทายจากปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อแนวโน้มเศรษฐกิจและความผันผวนในตลาดการเงิน ได้แก่ ความเสี่ยงจากการกลับมาระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศต่างๆ ทำให้ภาครัฐอาจต้องเลื่อนการเปิดเมืองหรืออาจต้องกลับไปใช้มาตรการปิดเมืองอีกครั้ง และก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยความกังวลนี้จะทยอยคลี่คลายเมื่อมีการแจกจ่ายวัคซีนเป็นการทั่วไป ความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลงขนาดของมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐยังคงมีความไม่แน่นอน จากข้อจำกัดในด้านต่างๆ อาทิ ความสามารถในการก่อหนี้ และงบประมาณคงเหลือ เป็นต้น การเคลื่อนย้ายเงินลงทุนซึ่งมีแนวโน้มจะไหลเข้าสู่กลุ่มประเทศเกิดใหม่และแนวโน้มการแข็งค่าของเงินบาทจากการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และการปรับเพิ่มขึ้นของราคาทองคำ ด้านธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ในวันที่ 4 พ.ย.นี้ ไม่มีการปรับเปลี่ยนนโยบายตามคาด โดยยังคงดอกเบี้ยใน range 0 – 0.25% ขณะที่มองว่าความเห็นต่อนโยบาย และมุมมองต่อเศรษฐกิจจาก FOMC ไม่มีอะไรใหม่ แม้จะยังคงอยู่ใน stance ผ่อนปรนมาก […]
กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ภาครัฐ (B-TREASURY)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ ตั้งแต่ต้นปี 2563 ที่ผ่านมาอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลทั่วโลกค่อนข้างผันผวนและปรับตัวลดลงทุกช่วงอายุจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้เศรษฐกิจทั่วโลกหดตัวอย่างรุนแรง รัฐบาลและธนาคารกลางในหลายๆ ประเทศเร่งออกมาตรการสนับสนุนต่างๆ และดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย ทั้งการลดดอกเบี้ยและการอัดฉีดสภาพคล่องอย่างต่อเนื่อง โดยภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดเริ่มคลี่คลาย หลายประเทศเริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการปิดเมืองทำให้เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณฟื้นตัวจากจุดต่ำสุด (bottoming out) และนักลงทุนเริ่มกลับมาถือสินทรัพย์เสี่ยงเพิ่มมากขึ้น ในช่วง 2 เดือนที่เหลือของปี 2563 นักลงทุนยังต้องเผชิญกับความท้าทายจากปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อแนวโน้มเศรษฐกิจและความผันผวนในตลาดการเงิน ได้แก่ ความเสี่ยงจากการกลับมาระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศต่างๆ ทำให้ภาครัฐอาจต้องเลื่อนการเปิดเมืองหรืออาจต้องกลับไปใช้มาตรการปิดเมืองอีกครั้ง และก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยความกังวลนี้จะทยอยคลี่คลายเมื่อมีการแจกจ่ายวัคซีนเป็นการทั่วไป ความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลงขนาดของมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐยังคงมีความไม่แน่นอน จากข้อจำกัดในด้านต่างๆ อาทิ ความสามารถในการก่อหนี้ และงบประมาณคงเหลือ เป็นต้น การเคลื่อนย้ายเงินลงทุนซึ่งมีแนวโน้มจะไหลเข้าสู่กลุ่มประเทศเกิดใหม่และแนวโน้มการแข็งค่าของเงินบาทจากการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และการปรับเพิ่มขึ้นของราคาทองคำ ด้านธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ในวันที่ 4 พ.ย.นี้ ไม่มีการปรับเปลี่ยนนโยบายตามคาด โดยยังคงดอกเบี้ยใน range 0 – 0.25% ขณะที่มองว่าความเห็นต่อนโยบาย และมุมมองต่อเศรษฐกิจจาก FOMC ไม่มีอะไรใหม่ แม้จะยังคงอยู่ใน stance ผ่อนปรนมาก […]
กองทุนบัวหลวงเสนอขาย IPO “BP10/20 (AI)” วันที่ 14-17 ธ.ค.นี้
กองทุนบัวหลวงเสนอขาย IPO ‘กองทุนรวมบัวหลวงธนสารพลัส 10/20 ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย’ หรือ BP10/20 (AI) ซึ่งเป็นเทอมฟันด์ อายุ 6 เดือน วันที่ 14-17 ธันวาคม 2563 นี้ ลงทุนขั้นต่ำ 500,000 บาท เป็นทางเลือกให้ผู้ลงทุนที่มองหาการลงทุนในตราสารหนี้ต่างประเทศ เพื่อโอกาสรับผลตอบแทนที่เหมาะสม รายงานข่าวจาก บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม บัวหลวง จำกัด เปิดเผยว่า กองทุนบัวหลวงเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรก (IPO) กองทุนรวมบัวหลวงธนสารพลัส 10/20 ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย หรือ BP10/20 (AI) ระหว่างวันที่ 14-17 ธันวาคม 2563 นี้ โดยเสนอขายในราคา 10 บาทต่อหน่วย และผู้ลงทุนจะต้องจองซื้อครั้งแรกขั้นต่ำ 500,000 บาท กองทุนนี้ เป็นกองทุนที่มีกำหนดอายุโครงการ (เทอมฟันด์) ประมาณ […]
BFRMF Product Update Uncategorized
กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้เพื่อการเลี้ยงชีพ (BFRMF)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ ตั้งแต่ต้นปี 2563 ที่ผ่านมาอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลทั่วโลกค่อนข้างผันผวนและปรับตัวลดลงทุกช่วงอายุจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้เศรษฐกิจทั่วโลกหดตัวอย่างรุนแรง รัฐบาลและธนาคารกลางในหลายๆ ประเทศเร่งออกมาตรการสนับสนุนต่างๆ และดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย ทั้งการลดดอกเบี้ยและการอัดฉีดสภาพคล่องอย่างต่อเนื่อง โดยภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดเริ่มคลี่คลาย หลายประเทศเริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการปิดเมืองทำให้เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณฟื้นตัวจากจุดต่ำสุด (bottoming out) และนักลงทุนเริ่มกลับมาถือสินทรัพย์เสี่ยงเพิ่มมากขึ้น ในช่วง 2 เดือนที่เหลือของปี 2563 นักลงทุนยังต้องเผชิญกับความท้าทายจากปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อแนวโน้มเศรษฐกิจและความผันผวนในตลาดการเงิน ได้แก่ ความเสี่ยงจากการกลับมาระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศต่างๆ ทำให้ภาครัฐอาจต้องเลื่อนการเปิดเมืองหรืออาจต้องกลับไปใช้มาตรการปิดเมืองอีกครั้ง และก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยความกังวลนี้จะทยอยคลี่คลายเมื่อมีการแจกจ่ายวัคซีนเป็นการทั่วไป ความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลงขนาดของมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐยังคงมีความไม่แน่นอน จากข้อจำกัดในด้านต่างๆ อาทิ ความสามารถในการก่อหนี้ และงบประมาณคงเหลือ เป็นต้น การเคลื่อนย้ายเงินลงทุนซึ่งมีแนวโน้มจะไหลเข้าสู่กลุ่มประเทศเกิดใหม่และแนวโน้มการแข็งค่าของเงินบาทจากการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และการปรับเพิ่มขึ้นของราคาทองคำ ด้านธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ในวันที่ 4 พ.ย.นี้ ไม่มีการปรับเปลี่ยนนโยบายตามคาด โดยยังคงดอกเบี้ยใน range 0 – 0.25% ขณะที่มองว่าความเห็นต่อนโยบาย และมุมมองต่อเศรษฐกิจจาก FOMC ไม่มีอะไรใหม่ แม้จะยังคงอยู่ใน stance ผ่อนปรนมาก […]
กองทุนเปิดบัวหลวงมันนี่มาร์เก็ตเพื่อการเลี้ยงชีพ (MM-RMF)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ ตั้งแต่ต้นปี 2563 ที่ผ่านมาอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลทั่วโลกค่อนข้างผันผวนและปรับตัวลดลงทุกช่วงอายุจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้เศรษฐกิจทั่วโลกหดตัวอย่างรุนแรง รัฐบาลและธนาคารกลางในหลายๆ ประเทศเร่งออกมาตรการสนับสนุนต่างๆ และดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย ทั้งการลดดอกเบี้ยและการอัดฉีดสภาพคล่องอย่างต่อเนื่อง โดยภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดเริ่มคลี่คลาย หลายประเทศเริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการปิดเมืองทำให้เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณฟื้นตัวจากจุดต่ำสุด (bottoming out) และนักลงทุนเริ่มกลับมาถือสินทรัพย์เสี่ยงเพิ่มมากขึ้น ในช่วง 2 เดือนที่เหลือของปี 2563 นักลงทุนยังต้องเผชิญกับความท้าทายจากปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อแนวโน้มเศรษฐกิจและความผันผวนในตลาดการเงิน ได้แก่ ความเสี่ยงจากการกลับมาระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศต่างๆ ทำให้ภาครัฐอาจต้องเลื่อนการเปิดเมืองหรืออาจต้องกลับไปใช้มาตรการปิดเมืองอีกครั้ง และก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยความกังวลนี้จะทยอยคลี่คลายเมื่อมีการแจกจ่ายวัคซีนเป็นการทั่วไป ความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลงขนาดของมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐยังคงมีความไม่แน่นอน จากข้อจำกัดในด้านต่างๆ อาทิ ความสามารถในการก่อหนี้ และงบประมาณคงเหลือ เป็นต้น การเคลื่อนย้ายเงินลงทุนซึ่งมีแนวโน้มจะไหลเข้าสู่กลุ่มประเทศเกิดใหม่และแนวโน้มการแข็งค่าของเงินบาทจากการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และการปรับเพิ่มขึ้นของราคาทองคำ ด้านธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ในวันที่ 4 พ.ย.นี้ ไม่มีการปรับเปลี่ยนนโยบายตามคาด โดยยังคงดอกเบี้ยใน range 0 – 0.25% ขณะที่มองว่าความเห็นต่อนโยบาย และมุมมองต่อเศรษฐกิจจาก FOMC ไม่มีอะไรใหม่ แม้จะยังคงอยู่ใน stance ผ่อนปรนมาก […]
ลงทุนในช่วงตลาดหุ้นไทยฟื้นตัวกับ TRIGGER 6-21
กองทุนบัวหลวง เสนอขาย IPO กองทุนเปิดบัวหลวงทริกเกอร์ 6-21 หรือ TRIGGER 6-21 ระหว่างวันที่ 14-16 ธันวาคม 2563 เอาใจนักลงทุนที่มองหาโอกาสรับผลตอบแทนจากการลงทุนในช่วงที่ตลาดหุ้นไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ตั้งเป้าหมายลงทุน 6 เดือน เพื่อโอกาสรับผลตอบแทน 5% กองทุนนี้มีรายละเอียดอย่างไรบ้าง มาคลายข้อสงสัยกันได้ที่นี่ ทำไมกองทุนบัวหลวงจึงออกกอง TRIGGER 6-21 ในช่วงนี้ หุ้นไทยปีนี้มีความผันผวนสูง เป็นโอกาสในการแสวงหาผลตอบแทน โควิด-19 เป็นสาเหตุที่ทำให้ตลาดหุ้นไทยลดลงและผันผวนเรื่อยมาตั้งแต่เดือนมี.ค. หุ้นพื้นฐานดีจำนวนมากก็ราคาลดต่ำลงจากโควิด-19 อย่างไรก็ตามหลังการเลือกตั้งประธานาธบดีสหรัฐฯ และมีความคืบหน้าเรื่องวัคซีนที่เกิดขึ้น ทำให้ตลาดหุ้นไทยกลับมาคึกคัก เป็นจังหวะของการลงทุน สไตล์การบริหารกองทุน TRIGGER6-21 ของกองทุนบัวหลวง สไตล์การบริหารกองทุนทริกเกอร์หุ้นไทยของเรา เน้นการลงทุนในหุ้นรายตัว จับจังหวะซื้อขายอยู่แล้ว ดังนั้นช่วงเวลานี้คือโอกาสที่เราสนใจ กองทุน TRIGGER 6-21 มีรายละเอียดอย่างไรบ้าง กองทุน TRIGGER 6-21 กำหนดเป้าหมายผลตอบแทนไว้ที่ 5% ภายในระยะเวลา […]
B-ASIA B-ASIARMF Product Update
กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นเอเชีย (B-ASIA)และกองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นเอเชียเพื่อการเลี้ยงชีพ (B-ASIARMF)
Highlight ประจำไตรมาส 4Q2020 1. ระดับมูลค่าดัชนี MSCI AC Asia ex Japan Index ปัจจุบันเทรดที่ระดับ FW P/E 18 x จากผลกำไรสุทธิ ปี 2020 ที่ออกมาไม่ดีอาจทำให้ดูเหมือนว่าจะไม่น่าลงทุน แต่หากท่านผู้ถือหน่วยรอที่จะกลับมาลงทุนเมื่อผลกำไรสุทธิเร่งตัวหลังก้าวเวลาเข้าสู่ปี 2021 นั้นอาจช้าเกินไป เพราะ 1.1 ในรอบนี้ภูมิภาคเอเชียเผชิญกับวิกฤติเศรษฐกิจ ช่วงที่หนี้สินภาครัฐอยู่ในระดับต่ำ ทำให้รัฐบาลสามารถดำเนินนโยบายการคลังได้อย่างคล่องตัว ไม่ต้องเกรงกลัวว่าจะต้องรีบรัดเข็มขัดด้านใช้จ่ายหลังวิกฤตครั้งนี้จบสิ้นลง 1.2 การฟื้นตัวโดยลำพังของจีนที่ไม่ต้องรอลุ้นว่าประเทศในกลุ่มพัฒนาแล้วจะออกมาตรการทางการคลังออกมาอย่างไรหรือปริมาณเท่าไร ในจังหวะที่มุมมองต่อผลประกอบการสดใส จะช่วยให้หุ้นกลุ่ม Cyclical/Value กลับมาสร้างผลตอบแทนที่ดีให้กับนักลงทุน 1.3 นักลงทุนต่างชาติขายเอเชียไปมากถึง 4.2 หมื่นล้านดอลลาร์ แต่ซื้อกลับเพียง 42% ของเงินที่หายไป ท่ามกลางการลงทุนแบบ Risk-On ทำให้ภูมิภาคเอเชียเป็น Asset Class ที่ต่างชาติเข้าลงทุนเพื่อหาผลตอบแทนที่ดีกว่าตลาดพัฒนาแล้วเช่น สหรัฐฯ ยุโรป […]