กองทุนเปิดบัวหลวงอินคัม (B-INCOME)
วัตถุประสงค์การลงทุน กระจายการลงทุนทั้งในและต่างประเทศ ในหลักทรัพย์ดังต่อไปนี้ ตราสารหนี้ และ/หรือ ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน ตราสารทุน หน่วยลงทุนของกองทุนรวม เช่น กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน หน่วยทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (REITs) กองทุนรวมอีทีเอฟ (ETF) เป็นต้น หน่วยลงทุนของกองทุนรวมภายใต้การจัดการของบริษัทจัดการ ในสัดส่วน 60% ของ NAV เงินฝากหรือตราสารเทียบเท่าเงินฝาก ทั้งนี้ กองทุนอาจลงทุนใน Derivatives และ/หรือ Structured Note ในสัดส่วน 0-100% ของ NAV และสัดส่วนการลงทุนในต่างประเทศไม่เกิน 79% ของ NAV ซึ่งเหมาะกับนักลงทุนที่คาดหวังให้เงินลงทุนระยะยาวได้ผลตอบแทนที่ดีจากหุ้นและตราสารหนี้ โดยรับความเสี่ยงได้ปานกลางถึงสูง Bloomberg (A): BINCOME TB Fund Size: 5,942 ล้านบาท (ข้อมูล ณ วันที่ 31 […]
B-FUTURE Product Update Uncategorized
กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นเพื่อคนรุ่นใหม่ (B-FUTURE)
ภาวะตลาดหุ้นทั่วโลกตั้งแต่ช่วงต้นปี ตลาดสินทรัพยเสี่ยงทั่วโลกรวมถึงตลาดหุ้นปรับขึ้นถ้วนหน้า นับตั้งแต่ต้นปี 2019 จนกระทั่งถึงเดือน เม.ย. โดยดัชนี MSCI All Country World Index ปรับขึ้นถึง 16.8% โดยเฉพาะอย่างยิ่งตลาดหุ้นสหรัฐฯ ที่ดัชนี Dow Jones Industrial Average ปรับตัวขึ้นมาสู่ระดับสูงสุดในประวัติการณ์ ขับเคลื่อนด้วยความเชื่อมั่นของนักลงทุนที่ปรับตัวดีขึ้นจากตัวเลขทางเศรษฐกิจที่ขยายตัวได้ดี ประกอบกับจากการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีนมีทิศทางที่ดีขึ้น ซึ่งนักลงทุนคาดว่า ทั้งสองประเทศจะสามารถบรรลุข้อตกลงทางการค้ากันได้ ในขณะที่ปัจจัยด้านการดำเนินนโยบายรัดกุมของธนาคารกลางขนาดใหญ่ เช่น FED, ECB ที่เป็นหนึ่งความเสี่ยงหลักในช่วงปีที่แล้วผ่อนคลายลงเช่นเดียวกัน ส่งผลให้นักลงทุนมีความหวังว่าสภาพคล่องจากทางธนาคารกลางจะยังคงสนับสนุนตลาดการเงินต่อไป สำหรับหุ้นกลุ่มเทคโนโลยีซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มอุตสาหกรรมหลักที่กองทุน B-FUTURE ลงทุน ตั้งแต่ช่วงต้นปี 2019 จนถึง เม.ย. หุ้นกลุ่ม Technology สามารถสร้างผลตอบแทนได้ดีกว่า (Outperform) ตลาดหุ้นทั่วโลก และปรับตัวขึ้นได้สูงสุดเมื่อเทียบกับหุ้นกลุ่มอุตสาหกรรมอื่นๆ นำโดยหุ้นกลุ่มเซมิคอนดักเตอร์ ที่ดัชนี Philadelphia Semiconductor ซึ่งเป็นดัชนีที่แสดงความเคลื่อนไหวของหุ้นกลุ่มเซมิคอนดักเตอร์ปรับขึ้นสู่ระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์เช่นกัน […]
กองทุนเปิดบัวหลวงภารตะ (B-BHARATA)
สรุปประเด็นสำคัญทางเศรษฐกิจอินเดีย ผลการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการซึ่งได้ประกาศไปเมื่อวันที่ 23 พ.ค. 2019 ส่งผลให้พรรค BJP (Bharatiya Janata Party) ของนายนเรนทรา โมดิ รวบรวมเสียงเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลได้อีกสมัย โดยเสียงที่เขารวบรวมในสภาล่าง (Lok Sabha) นั้นได้สมาชิกรวมทั้งสิ้น 350 เสียงจากทั้งหมด 543 เสียง คิดเป็นสัดส่วน 56% ตัวเลขดังกล่าว นอกจากจะสูงกว่า ผลสำรวจก่อนการเลือกตั้งแล้ว ยังสูงกว่าตัวเลขที่แกนนำร่วมรัฐบาล(NDA: National Democratic Alliance) ที่นำโดยพรรค BJP เคยได้รับในปี 2014 ในครั้งนั้นพรรค BJP ซึ่งเป็นสมาชิกหลักของแกนนำร่วมรัฐบาล รวบรวมเสียงได้เพียง 336 เสียง คิดเป็นสัดส่วน 52% (เทียบกับ 56% ในปีนี้) และหากนับเฉพาะคะแนนเสียงที่พรรค BJP ได้รับโดยลำพัง (Standalone) แล้วถือว่าเพิ่มขึ้นเป็น […]
B-ASEAN B-ASEANRMF Product Update
กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นอาเซียน (B-ASEAN) และกองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นอาเซียนเพื่อการเลี้ยงชีพ (B-ASEANRMF)
สรุปภาวะตลาดหุ้นอาเซียนในช่วงที่ผ่านมาของปี 2019 ดัชนี MSCI AC ASEAN Index ตั้งแต่ช่วงต้นปีถึงปลายเดือน เม.ย. กลับมาปรับตัวขึ้นได้ถึง 7.7% จากปี 2018 ที่ปรับลดไปถึง 11% นำโดยตลาดหุ้นสิงคโปร์ที่เพิ่มขึ้นกว่า 11% จากความหวังว่าภาวะสงครามการค้าจะผ่อนคลายลงและจะลดทอนผลกระทบที่มีต่อภาคการผลิตและการส่งออกของสิงคโปร์ได้ ประกอบกับการที่หุ้นกุล่มธนาคารสามารถสร้าง ผลประกอบการออกมาได้อย่างแข็งแกร่ง ขณะที่ตลาดหุ้นมาเลเซียเป็นตลาดที่ปรับลดลงมากที่สุดในภูมิภาคเอเชียโดยปรับตัวลง 3% ด้วยผลกระทบจากการใช้นโยบายรัดเข็มขัดของภาครัฐบาล และภาวะเศรษฐกิจที่เปราะบาง อย่างไรก็ตาม เมื่อก้าวเข้าสู่เดือน พ.ค. ตลาดหุ้นในภูมิภาคอาเซียนต้องเผชิญแรงกดดันอีกครั้ง หลังจากภาวะสงครามการค้าที่เริ่มส่อแววปะทุขึ้นอีกครั้งและอาจยืดเยื้อกว่าที่คาดการณ์กันก่อนหน้า ซึ่งไม่เพียงจะส่งผลถึง Sentiment ของตลาดการเงินโดยรวมเท่านั้น แต่อาจส่งผลลบต่อภาคเศรษฐกิจจริงของภูมิภาคอีกด้วย อีกทั้งยังมีปัจจัยเฉพาะประเทศเข้ามากดดัน เช่น อินโดนีเซียที่เกิดการประท้วงภายในกรุงจาการ์ตาหลังจากการประกาศผลการเลือกตั้งจนทำให้มีผู้เสียชีวิต หรือไทยที่การจัดตั้งรัฐบาลยังคงไม่ลงตัวแม้จะผ่านพ้นการเลือกตั้งมาเป็นระยะเวลาหลายเดือนแล้ว ทั้งนี้ในแง่ของกระแสเงินทุน ตลาดหุ้นอินโดนีเซียได้รับกระแสเงินทุนไหลเข้ามากที่สุดนับตั้งแต่ช่วงต้นปี ด้วยปัจจัยกดดันทางด้านบัญชีเดินสะพัดที่ขาดดุลเป็นอย่างมากและอย่างต่อเนื่องเริ่มคลี่คลายลง รวมถึงการที่ตลาดหุ้นปรับลดระดับลงมาดึงดูดให้นักลงทุนต่างชาติเข้าไปลงทุน ขณะที่ มาเลเซียยังคงเผชิญกับเงินทุนไหลออกจากปัจจัยพื้นฐานด้านเศรษฐกิจที่แย่ลงจากการรัดเข็มขัดทางการคลังของรัฐบาล มุมมองของกองทุนบัวหลวงต่อเศรษฐกิจอาเซียนแบ่งตามรายประเทศ อินโดนีเซีย หลังจากที่ธนาคารกลาง (BI: Bank Indonesia) ขึ้นดอกเบี้ยอย่างต่อเนื่องในปี […]
B-HY (H75) AI B-HY (UH) AI Product Update
กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (H75) AI) และกองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (UH) AI)
สรุปภาวะตลาดตราสารหนี้ยูเอส ไฮยิลด์ เดือน เม.ย. ตราสารหนี้ยูเอส ไฮยิลด์ ที่มีอันดับความน่าเชื่อถือ (Credit rating) ระดับ B ให้ผลตอบแทน +1.40% ผลตอบแทนรายเดือนเป็นบวกต่อเนื่องเป็นเดือนที่สี่นับตั้งแต่ต้นปี ผลตอบแทนที่เป็นบวกเป็นผลจาก 1) ธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) แสดงออกต่อทิศทางการขึ้นดอกเบี้ยในทำนอง Dovish แปลว่า จะไม่เห็นการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอย่างต่อเนื่องเหมือนที่ผ่านๆ มา 2) ผลประกอบการบริษัทสหรัฐฯซึ่งได้ทยอยประกาศออกมานั้นอยู่สูงกว่าระดับที่ตลาดคาดการณ์ ด้านกระแสเงินไหลเข้า-ออก ตราสารหนี้ยูเอส ไฮยิลด์ได้รับกับกระแสเงินไหลเข้าในเดือน เม.ย. +2.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ นับว่าเป็นการไหลเข้าต่อเนื่องจากไตรมาสแรกที่มีเม็ดเงินไหลเข้ารวมทั้งสิ้น +12.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ด้านตราสารหนี้ออกใหม่ พบว่า มีจำนวน 33 ตราสารในเดือน เม.ย.รวมจำนวน 18.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ลดลงจากเดือน ก.พ.และ มี.ค. ซึ่งอยู่ที่ 21.2 และ 26.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ […]
กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นจีน (B-CHINE-EQ)
สรุปภาวะตลาดและกลยุทธ์การลงทุน ผลตอบแทนหุ้นจีนเมื่อวัดจากดัชนี MSCI All China Net Return USD ตั้งแต่ต้นปีถึงวันที่ 20 พ.ค. เพิ่มขึ้น 13.46% กองทุน Allianz All China Equity USD ให้ผลตอบแทน 17.14% สูงกว่าดัชนี เป็นผลจากการเลือกหุ้นรายตัวในกลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภคฟุ่มเฟือย อาทิ บริษัทผลิตสุราพรีเมี่ยม Wuliangye Yibin Co. Ltd มีน้ำหนักการลงทุนที่ 3.8% ราคาหุ้น +90% และกองทุนยังมีการเลือกหุ้นในกลุ่มอุตสาหกรรม อาทิ บริษัทผลิตเครื่องยกไฮโดรลิก Jiangsu Hengli Hydrauli น้ำหนักลงทุน 3.7% ราคาหุ้น +68% ช่วยทำให้กองทุนทำผลตอบแทนได้ดีกว่าดัชนี ผลการดำเนินงาน Allianz All China Fund ตั้งแต่ต้นปีถึงวันที่ […]
กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ (BFIXED)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ การเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐและพันธบัตรรัฐบาลไทยในช่วงที่ผ่านมา ยังคงเคลื่อนไหวตามปัจจัยหลักที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ได้แก่ ความกังวลถึงการชะลอตัวของเศรษฐกิจ สงครามการค้าระหว่างสหรัฐกับจีน ท่าทีผ่อนคลายของธนาคารกลางหลักทั่วโลก ความกังวลถึงการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกยังเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐ และรัฐบาลไทย หลังจากในช่วงเดือน เม.ย. IMF ได้ออกมาปรับลดคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกปีนี้ลงสู่ระดับ 3.3% จากเดิมที่ 3.5% โดยได้ระบุผลกระทบหลักมาจากความขัดแย้งทางการค้าระหว่างสหรัฐและประเทศคู่ค้า รวมทั้งการคุมเข้มนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ทั้งนี้ประเด็นเรื่องสงครามการค้าระหว่างสหรัฐกับจีนนั้นมีท่าทีผ่อนคลายลงในช่วงเดือน เม.ย. โดยมีทิศทางว่าทั้งสองฝ่ายจะสามารถบรรลุ ข้อตกลงทางการค้าได้ แต่ประเด็นดังกล่าวกลับมาตึงเครียดขึ้นอีกครั้งในเดือน พ.ค. หลังจากประธานาธิบดีทรัมป์ขู่ว่าอาจขึ้นภาษีสินค้า นำเข้าจากจีนมูลค่า 2 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐจาก 10% เป็น 25% ซึ่งหากเกิดขึ้นจริงก็จะส่งผลต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก และภาคการส่งออกของไทยได้ ทางด้านนโยบายการเงินของประเทศหลัก พบว่า ไปในทิศทางผ่อนคลายมากขึ้น อาทิ คณะกรรมการนโยบายการเงิน (FOMC) มีมติเป็นเอกฉันท์ (10-0) คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 2.25-2.50% ตามที่คาด โดยระบุว่าพัฒนาการของเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงินที่ยังไม่แน่นอน ประกอบกับ แรงกดดันเงินเฟ้อที่อ่อนแอ ทำให้ Fed […]
กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้เพื่อการเลี้ยงชีพ (BFRMF)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ การเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐและพันธบัตรรัฐบาลไทยในช่วงที่ผ่านมา ยังคงเคลื่อนไหวตามปัจจัยหลักที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ได้แก่ ความกังวลถึงการชะลอตัวของเศรษฐกิจ สงครามการค้าระหว่างสหรัฐกับจีน ท่าทีผ่อนคลายของธนาคารกลางหลักทั่วโลก ความกังวลถึงการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกยังเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐ และรัฐบาลไทย หลังจากในช่วงเดือน เม.ย. IMF ได้ออกมาปรับลดคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกปีนี้ลงสู่ระดับ 3.3% จากเดิมที่ 3.5% โดยได้ระบุผลกระทบหลักมาจากความขัดแย้งทางการค้าระหว่างสหรัฐและประเทศคู่ค้า รวมทั้งการคุมเข้มนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ทั้งนี้ประเด็นเรื่องสงครามการค้าระหว่างสหรัฐกับจีนนั้นมีท่าทีผ่อนคลายลงในช่วงเดือน เม.ย. โดยมีทิศทางว่าทั้งสองฝ่ายจะสามารถบรรลุ ข้อตกลงทางการค้าได้ แต่ประเด็นดังกล่าวกลับมาตึงเครียดขึ้นอีกครั้งในเดือน พ.ค. หลังจากประธานาธิบดีทรัมป์ขู่ว่าอาจขึ้นภาษีสินค้า นำเข้าจากจีนมูลค่า 2 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐจาก 10% เป็น 25% ซึ่งหากเกิดขึ้นจริงก็จะส่งผลต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก และภาคการส่งออกของไทยได้ ทางด้านนโยบายการเงินของประเทศหลัก พบว่า ไปในทิศทางผ่อนคลายมากขึ้น อาทิ คณะกรรมการนโยบายการเงิน (FOMC) มีมติเป็นเอกฉันท์ (10-0) คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 2.25-2.50% ตามที่คาด โดยระบุว่าพัฒนาการของเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงินที่ยังไม่แน่นอน ประกอบกับ แรงกดดันเงินเฟ้อที่อ่อนแอ ทำให้ Fed […]
กองทุนเปิดบัวหลวงมันนี่มาร์เก็ตเพื่อการเลี้ยงชีพ (MM-RMF)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ การเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐและพันธบัตรรัฐบาลไทยในช่วงที่ผ่านมา ยังคงเคลื่อนไหวตามปัจจัยหลักที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ได้แก่ ความกังวลถึงการชะลอตัวของเศรษฐกิจ สงครามการค้าระหว่างสหรัฐกับจีน ท่าทีผ่อนคลายของธนาคารกลางหลักทั่วโลก ความกังวลถึงการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกยังเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐ และรัฐบาลไทย หลังจากในช่วงเดือน เม.ย. IMF ได้ออกมาปรับลดคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกปีนี้ลงสู่ระดับ 3.3% จากเดิมที่ 3.5% โดยได้ระบุผลกระทบหลักมาจากความขัดแย้งทางการค้าระหว่างสหรัฐและประเทศคู่ค้า รวมทั้งการคุมเข้มนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ทั้งนี้ประเด็นเรื่องสงครามการค้าระหว่างสหรัฐกับจีนนั้นมีท่าทีผ่อนคลายลงในช่วงเดือน เม.ย. โดยมีทิศทางว่าทั้งสองฝ่ายจะสามารถบรรลุ ข้อตกลงทางการค้าได้ แต่ประเด็นดังกล่าวกลับมาตึงเครียดขึ้นอีกครั้งในเดือน พ.ค. หลังจากประธานาธิบดีทรัมป์ขู่ว่าอาจขึ้นภาษีสินค้า นำเข้าจากจีนมูลค่า 2 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐจาก 10% เป็น 25% ซึ่งหากเกิดขึ้นจริงก็จะส่งผลต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก และภาคการส่งออกของไทยได้ ทางด้านนโยบายการเงินของประเทศหลัก พบว่า ไปในทิศทางผ่อนคลายมากขึ้น อาทิ คณะกรรมการนโยบายการเงิน (FOMC) มีมติเป็นเอกฉันท์ (10-0) คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 2.25-2.50% ตามที่คาด โดยระบุว่าพัฒนาการของเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงินที่ยังไม่แน่นอน ประกอบกับ แรงกดดันเงินเฟ้อที่อ่อนแอ ทำให้ Fed […]
กองทุนเปิดบัวหลวงธนทวี (B-TNTV)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ การเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐและพันธบัตรรัฐบาลไทยในช่วงที่ผ่านมา ยังคงเคลื่อนไหวตามปัจจัยหลักที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ได้แก่ ความกังวลถึงการชะลอตัวของเศรษฐกิจ สงครามการค้าระหว่างสหรัฐกับจีน ท่าทีผ่อนคลายของธนาคารกลางหลักทั่วโลก ความกังวลถึงการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกยังเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐ และรัฐบาลไทย หลังจากในช่วงเดือน เม.ย. IMF ได้ออกมาปรับลดคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกปีนี้ลงสู่ระดับ 3.3% จากเดิมที่ 3.5% โดยได้ระบุผลกระทบหลักมาจากความขัดแย้งทางการค้าระหว่างสหรัฐและประเทศคู่ค้า รวมทั้งการคุมเข้มนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ทั้งนี้ประเด็นเรื่องสงครามการค้าระหว่างสหรัฐกับจีนนั้นมีท่าทีผ่อนคลายลงในช่วงเดือน เม.ย. โดยมีทิศทางว่าทั้งสองฝ่ายจะสามารถบรรลุ ข้อตกลงทางการค้าได้ แต่ประเด็นดังกล่าวกลับมาตึงเครียดขึ้นอีกครั้งในเดือน พ.ค. หลังจากประธานาธิบดีทรัมป์ขู่ว่าอาจขึ้นภาษีสินค้า นำเข้าจากจีนมูลค่า 2 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐจาก 10% เป็น 25% ซึ่งหากเกิดขึ้นจริงก็จะส่งผลต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก และภาคการส่งออกของไทยได้ ทางด้านนโยบายการเงินของประเทศหลัก พบว่า ไปในทิศทางผ่อนคลายมากขึ้น อาทิ คณะกรรมการนโยบายการเงิน (FOMC) มีมติเป็นเอกฉันท์ (10-0) คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 2.25-2.50% ตามที่คาด โดยระบุว่าพัฒนาการของเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงินที่ยังไม่แน่นอน ประกอบกับ แรงกดดันเงินเฟ้อที่อ่อนแอ ทำให้ Fed […]