ไอ้มดยักษ์ ‘Ant Group’ เตรียมเขย่าตลาดหุ้น
โดย…ทนง ขันทอง นักลงทุนทั่วโลก ไม่จำกัดเฉพาะในประเทศจีนเท่านั้นที่กำลังจับตาดูความคืบหน้าของไอ้มดยักษ์ Ant Group ที่กำลังแต่งตัวเพื่อเตรียมเข้าไประดมทุนในตลาดหุ้นเซี่ยงไฮ้ และตลาดหุ้นฮ่องกงพร้อมๆ กันเลยทีเดียว เพราะว่าจะได้มีโอกาสลงทุนในบริษัทเทคโนโลยีที่จะเขย่าตลาดหุ้น เนื่องจากศักยภาพของการเจริญเติบโตแบบกินรวบ ไอ้มดยักษ์หรือ Ant Group (แอนท์ กรุ๊ป) ซึ่งบริษัทอาลีบาบาถือหุ้นอยู่ประมาณ 30% จะเป็นบทพิสูจน์ความยิ่งใหญ่ของบริษัทเทคโนโลยีของจีน และความสามารถของตลาดทุนจีนในการพึ่งพาตัวเอง ด้วยการรองรับการระดมทุนขนาดมหึมาของไอ้มดยักษ์ที่เตรียมระดมทุน 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ผ่านการทำไอพีโอแบบพร้อมกัน 2 ตลาด (Dual listing) โดยไม่ต้องง้อตลาดหุ้นสหรัฐฯ ที่เตรียมกีดกันบริษัทจีนจากนโยบายบอกบุญไม่รับของประธานาธิบดีทรัมป์ ถ้าหากว่าระดมทุนได้ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ จริง เท่ากับว่ามูลค่าตลาดรวมของไอ้มดยักษ์จะอยู่ที่ประมาณ 200,000- 300,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งจะทำให้ไอ้มดยักษ์มีขนาดใหญ่กว่าแบงก์ใหญ่ๆ ของสหรัฐฯ เสียอีก ไม่ว่าจะเป็น Goldman Sachs ที่มีมูลค่าตลาดรวม 71,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ Bank of […]
กองทุนเปิดบัวหลวงมันนี่มาร์เก็ตเพื่อการเลี้ยงชีพ (MM-RMF)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ “อัตราผลตอบแทนพันธบัตรจะมีความผันผวนตามปัจจัยทั้งในและต่างประเทศ โดยเฉพาะปัจจัยที่เกี่ยวกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 การดำเนินนโยบายทางการเงินและการคลังของภาครัฐ ปริมาณพันธบัตรรัฐบาล(Bond supply) ความผันผวนในตลาดการเงินโลก อัตราแลกเปลี่ยน และเงินทุนเคลื่อนย้ายในตลาดตราสารหนี้” ด้านธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ในช่วงปลายเดือน คณะกรรมการนโยบายการเงินของสหรัฐฯ มีมติเป็นเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.00 – 0.25% พร้อมส่งสัญญาณว่าจะผ่อนคลายมาตรการเพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและจำกัดผลกระทบต่อเศรษฐกิจในระยะยาว และชี้ว่าจะยังคงเพิ่มการถือครองพันธบัตรรัฐบาลและตราสารหนี้ที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยเป็นหลักประกัน (MBS) อย่างน้อยในระดับปัจจุบัน นอกจากนี้ยังขยายเวลาการทำธุรกรรม Swap Line และ Repo Facility ออกไปจนถึง 31 มี.ค. 2564 เพื่อรักษาสภาพคล่องเงินดอลลาร์สหรัฐ และขยายระยะเวลามาตรการช่วยเหลือด้านสภาพคล่องไปอีก 3 เดือนไปสิ้นสุด ณ สิ้นปี 2563 นายพาวเวล ประธาน FED ประเมินว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ จะหดตัวรุนแรงที่สุดเป็นประวัติการณ์ในไตรมาสที่ 2 และจะเผชิญกับภาวะเงินเฟ้อลดลงจากเศรษฐกิจที่อ่อนแอ ทั้งนี้ การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจเริ่มชะลอลงเมื่อการระบาดรุนแรงขึ้นอีกครั้งในเดือนมิถุนายน แต่ยังเร็วเกินไปที่จะสรุปความรุนแรงของผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ด้านยุโรป ธนาคารกลางยุโรป (ECB) […]
กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ภาครัฐ (B-TREASURY)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ “อัตราผลตอบแทนพันธบัตรจะมีความผันผวนตามปัจจัยทั้งในและต่างประเทศ โดยเฉพาะปัจจัยที่เกี่ยวกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 การดำเนินนโยบายทางการเงินและการคลังของภาครัฐ ปริมาณพันธบัตรรัฐบาล(Bond supply) ความผันผวนในตลาดการเงินโลก อัตราแลกเปลี่ยน และเงินทุนเคลื่อนย้ายในตลาดตราสารหนี้” ด้านธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ในช่วงปลายเดือน คณะกรรมการนโยบายการเงินของสหรัฐฯ มีมติเป็นเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.00 – 0.25% พร้อมส่งสัญญาณว่าจะผ่อนคลายมาตรการเพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและจำกัดผลกระทบต่อเศรษฐกิจในระยะยาว และชี้ว่าจะยังคงเพิ่มการถือครองพันธบัตรรัฐบาลและตราสารหนี้ที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยเป็นหลักประกัน (MBS) อย่างน้อยในระดับปัจจุบัน นอกจากนี้ยังขยายเวลาการทำธุรกรรม Swap Line และ Repo Facility ออกไปจนถึง 31 มี.ค. 2564 เพื่อรักษาสภาพคล่องเงินดอลลาร์สหรัฐ และขยายระยะเวลามาตรการช่วยเหลือด้านสภาพคล่องไปอีก 3 เดือนไปสิ้นสุด ณ สิ้นปี 2563 นายพาวเวล ประธาน FED ประเมินว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ จะหดตัวรุนแรงที่สุดเป็นประวัติการณ์ในไตรมาสที่ 2 และจะเผชิญกับภาวะเงินเฟ้อลดลงจากเศรษฐกิจที่อ่อนแอ ทั้งนี้ การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจเริ่มชะลอลงเมื่อการระบาดรุนแรงขึ้นอีกครั้งในเดือนมิถุนายน แต่ยังเร็วเกินไปที่จะสรุปความรุนแรงของผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ด้านยุโรป ธนาคารกลางยุโรป (ECB) […]
กองทุนเปิดบัวหลวงธนทวี (B-TNTV)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ “อัตราผลตอบแทนพันธบัตรจะมีความผันผวนตามปัจจัยทั้งในและต่างประเทศ โดยเฉพาะปัจจัยที่เกี่ยวกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 การดำเนินนโยบายทางการเงินและการคลังของภาครัฐ ปริมาณพันธบัตรรัฐบาล(Bond supply) ความผันผวนในตลาดการเงินโลก อัตราแลกเปลี่ยน และเงินทุนเคลื่อนย้ายในตลาดตราสารหนี้” ด้านธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ในช่วงปลายเดือน คณะกรรมการนโยบายการเงินของสหรัฐฯ มีมติเป็นเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.00 – 0.25% พร้อมส่งสัญญาณว่าจะผ่อนคลายมาตรการเพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและจำกัดผลกระทบต่อเศรษฐกิจในระยะยาว และชี้ว่าจะยังคงเพิ่มการถือครองพันธบัตรรัฐบาลและตราสารหนี้ที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยเป็นหลักประกัน (MBS) อย่างน้อยในระดับปัจจุบัน นอกจากนี้ยังขยายเวลาการทำธุรกรรม Swap Line และ Repo Facility ออกไปจนถึง 31 มี.ค. 2564 เพื่อรักษาสภาพคล่องเงินดอลลาร์สหรัฐ และขยายระยะเวลามาตรการช่วยเหลือด้านสภาพคล่องไปอีก 3 เดือนไปสิ้นสุด ณ สิ้นปี 2563 นายพาวเวล ประธาน FED ประเมินว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ จะหดตัวรุนแรงที่สุดเป็นประวัติการณ์ในไตรมาสที่ 2 และจะเผชิญกับภาวะเงินเฟ้อลดลงจากเศรษฐกิจที่อ่อนแอ ทั้งนี้ การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจเริ่มชะลอลงเมื่อการระบาดรุนแรงขึ้นอีกครั้งในเดือนมิถุนายน แต่ยังเร็วเกินไปที่จะสรุปความรุนแรงของผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ด้านยุโรป ธนาคารกลางยุโรป (ECB) […]
กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้เพื่อการเลี้ยงชีพ (BFRMF)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ “อัตราผลตอบแทนพันธบัตรจะมีความผันผวนตามปัจจัยทั้งในและต่างประเทศ โดยเฉพาะปัจจัยที่เกี่ยวกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 การดำเนินนโยบายทางการเงินและการคลังของภาครัฐ ปริมาณพันธบัตรรัฐบาล(Bond supply) ความผันผวนในตลาดการเงินโลก อัตราแลกเปลี่ยน และเงินทุนเคลื่อนย้ายในตลาดตราสารหนี้” ด้านธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ในช่วงปลายเดือน คณะกรรมการนโยบายการเงินของสหรัฐฯ มีมติเป็นเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.00 – 0.25% พร้อมส่งสัญญาณว่าจะผ่อนคลายมาตรการเพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและจำกัดผลกระทบต่อเศรษฐกิจในระยะยาว และชี้ว่าจะยังคงเพิ่มการถือครองพันธบัตรรัฐบาลและตราสารหนี้ที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยเป็นหลักประกัน (MBS) อย่างน้อยในระดับปัจจุบัน นอกจากนี้ยังขยายเวลาการทำธุรกรรม Swap Line และ Repo Facility ออกไปจนถึง 31 มี.ค. 2564 เพื่อรักษาสภาพคล่องเงินดอลลาร์สหรัฐ และขยายระยะเวลามาตรการช่วยเหลือด้านสภาพคล่องไปอีก 3 เดือนไปสิ้นสุด ณ สิ้นปี 2563 นายพาวเวล ประธาน FED ประเมินว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ จะหดตัวรุนแรงที่สุดเป็นประวัติการณ์ในไตรมาสที่ 2 และจะเผชิญกับภาวะเงินเฟ้อลดลงจากเศรษฐกิจที่อ่อนแอ ทั้งนี้ การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจเริ่มชะลอลงเมื่อการระบาดรุนแรงขึ้นอีกครั้งในเดือนมิถุนายน แต่ยังเร็วเกินไปที่จะสรุปความรุนแรงของผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ด้านยุโรป ธนาคารกลางยุโรป (ECB) […]
กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ (BFIXED)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ “อัตราผลตอบแทนพันธบัตรจะมีความผันผวนตามปัจจัยทั้งในและต่างประเทศ โดยเฉพาะปัจจัยที่เกี่ยวกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 การดำเนินนโยบายทางการเงินและการคลังของภาครัฐ ปริมาณพันธบัตรรัฐบาล(Bond supply) ความผันผวนในตลาดการเงินโลก อัตราแลกเปลี่ยน และเงินทุนเคลื่อนย้ายในตลาดตราสารหนี้” ด้านธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ในช่วงปลายเดือน คณะกรรมการนโยบายการเงินของสหรัฐฯ มีมติเป็นเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.00 – 0.25% พร้อมส่งสัญญาณว่าจะผ่อนคลายมาตรการเพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและจำกัดผลกระทบต่อเศรษฐกิจในระยะยาว และชี้ว่าจะยังคงเพิ่มการถือครองพันธบัตรรัฐบาลและตราสารหนี้ที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยเป็นหลักประกัน (MBS) อย่างน้อยในระดับปัจจุบัน นอกจากนี้ยังขยายเวลาการทำธุรกรรม Swap Line และ Repo Facility ออกไปจนถึง 31 มี.ค. 2564 เพื่อรักษาสภาพคล่องเงินดอลลาร์สหรัฐ และขยายระยะเวลามาตรการช่วยเหลือด้านสภาพคล่องไปอีก 3 เดือนไปสิ้นสุด ณ สิ้นปี 2563 นายพาวเวล ประธาน FED ประเมินว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ จะหดตัวรุนแรงที่สุดเป็นประวัติการณ์ในไตรมาสที่ 2 และจะเผชิญกับภาวะเงินเฟ้อลดลงจากเศรษฐกิจที่อ่อนแอ ทั้งนี้ การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจเริ่มชะลอลงเมื่อการระบาดรุนแรงขึ้นอีกครั้งในเดือนมิถุนายน แต่ยังเร็วเกินไปที่จะสรุปความรุนแรงของผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ด้านยุโรป ธนาคารกลางยุโรป (ECB) […]
หุ้นไทยวันที่ 26 ส.ค. 2563 ปิดตลาดที่ 1,322.55 จุด เพิ่มขึ้น 6.56 จุด
ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 26 ส.ค. 2563 ปิดตลาดที่ 1,322.55 จุด เพิ่มขึ้น 6.56 จุด หรือ 0.50% โดยระหว่างวันสูงสุดที่ 1,323.97 จุด ต่ำสุดที่ 1,311.14 จุด มูลค่าการซื้อขาย 48,652.28 ล้านบาท หลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายสูงสุด 5 อันดับได้แก่ 1.STGT ปิดที่ 70.25 บาท เพิ่มขึ้น 2.50 บาท มูลค่าการซื้อขาย 1,802.32 ลบ. 2.SAWAD ปิดที่ 47.75 บาท เพิ่มขึ้น 4.25 บาท มูลค่าการซื้อขาย 1,645.49 ลบ. 3.AOT ปิดที่ 57.00 บาท ปิดไม่เปลี่ยนแปลง มูลค่าการซื้อขาย […]
กองทุนเปิดบัวหลวงเพิ่มพูน (B-ENHANCED)
ประเด็นเด่นในตลาดตราสารหนี้ “อัตราผลตอบแทนพันธบัตรจะมีความผันผวนตามปัจจัยทั้งในและต่างประเทศ โดยเฉพาะปัจจัยที่เกี่ยวกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 การดำเนินนโยบายทางการเงินและการคลังของภาครัฐ ปริมาณพันธบัตรรัฐบาล(Bond supply) ความผันผวนในตลาดการเงินโลก อัตราแลกเปลี่ยน และเงินทุนเคลื่อนย้ายในตลาดตราสารหนี้” ด้านธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ในช่วงปลายเดือน คณะกรรมการนโยบายการเงินของสหรัฐฯ มีมติเป็นเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.00 – 0.25% พร้อมส่งสัญญาณว่าจะผ่อนคลายมาตรการเพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและจำกัดผลกระทบต่อเศรษฐกิจในระยะยาว และชี้ว่าจะยังคงเพิ่มการถือครองพันธบัตรรัฐบาลและตราสารหนี้ที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยเป็นหลักประกัน (MBS) อย่างน้อยในระดับปัจจุบัน นอกจากนี้ยังขยายเวลาการทำธุรกรรม Swap Line และ Repo Facility ออกไปจนถึง 31 มี.ค. 2564 เพื่อรักษาสภาพคล่องเงินดอลลาร์สหรัฐ และขยายระยะเวลามาตรการช่วยเหลือด้านสภาพคล่องไปอีก 3 เดือนไปสิ้นสุด ณ สิ้นปี 2563 นายพาวเวล ประธาน FED ประเมินว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ จะหดตัวรุนแรงที่สุดเป็นประวัติการณ์ในไตรมาสที่ 2 และจะเผชิญกับภาวะเงินเฟ้อลดลงจากเศรษฐกิจที่อ่อนแอ ทั้งนี้ การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจเริ่มชะลอลงเมื่อการระบาดรุนแรงขึ้นอีกครั้งในเดือนมิถุนายน แต่ยังเร็วเกินไปที่จะสรุปความรุนแรงของผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ด้านยุโรป ธนาคารกลางยุโรป (ECB) […]
การเมืองเรื่องวัคซีนโคโรนาไวรัส (ตอน 2)
โดย…ทนง ขันทอง ในวันที่ 11 สิงหาคมที่ผ่านมา ประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูติน ของรัสเซีย ประกาศว่า รัสเซียได้ทำการจดทะเบียนรับรองวัคซีนโคโรนาไวรัสที่ผลิตภายในประเทศรัสเซียแล้ว โดยวัคซีนตัวนี้มีชื่อว่า Sputnik V ซึ่งเป็นผลงานของสถาบันGamaleya National Research Instituteที่อยู่ในกรุงมอสโคว ปูติน ให้ความมั่นใจกับความปลอดภัยของวัคซีนของรัสเซีย โดยบอกว่า ลูกสาวของตัวเองได้รับการทดลองฉีดไปแล้ว วัคซีนSputnik V ผ่านการทดลองระยะ 1 ระยะ2 แล้ว ปรากฎว่า ผู้เข้าร่วมทดลองมีการสร้างภูมิคุ้มกันไวรัส ทำให้ไม่จำเป็นต้องเร่งทดลองระยะ 3 ที่ต้องใช้คนเข้าร่วมโครงการทดลองเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ รัสเซียให้ข่าวว่า จะมีความต้องการวัคซีน Sputnik V ถึง 1,000 ล้านโดส มีมากกว่า 20 ประเทศ ที่แสดงความสนใจที่จะรับมอบ หรือร่วมผลิตวัคซีนของรัสเซีย หลังจากที่รัสเซียออกข่าววัคซีนโคโรนาไวรัส สื่อจากโลกตะวันตก รวมทั้งนาย Anthony Fauci […]
ลงทุนแบบกระจาย ช่วยคลายความผันผวน
โดย…อรพรรณ บัวประชุม CFP® ช่วงที่ผ่านมา จะเห็นว่าร้านทองคึกคักมาก คนเข้าเต็มร้าน ไม่ว่าจะที่เยาวราชหรือในห้างสรรพสินค้า ไม่ใช่ว่าจะเข้าไปซื้อทองกันนะคะ แต่เข้าไปขาย!!! เพราะตั้งแต่เกิดมายังไม่เคยเห็นราคาทองคำทะลุ 30,000 บาทเลยค่ะ ใครที่ไม่เคยสนใจทอง ตอนนี้เชื่อเหลือเกินว่าต้องรื้อค้นที่บ้านกันแล้วว่ามีทองอยู่เท่าไหร่ จะขายเลยดีมั้ย เพราะกลัวทองจะลง เหมือนในช่วงปี 2554 ที่ทองคำขึ้นมาประมาณ 27,000-28,000 บาท/น้ำหนัก 1 บาท แล้วก็ทยอยปรับตัวลดลงไป คนที่ไม่เคยสนใจทองก็เข้ามาซื้อ เข้ามาขาย บางคนซื้อแล้วขายไม่ได้ เพราะทองปรับตัวลงอย่างรวดเร็ว กลัวจะขาดทุน ก็อดทนถือกันมาเรื่อยๆ จนช่วงนี้เห็นทีได้จังหวะทองขึ้นก็รีบเอาออกมาขายกัน นอกจากทองคำแล้ว ยังมีสินทรัพย์อื่นๆ ที่น่าสนใจ เรามาลองดูสถิติย้อนหลังกันค่ะ จากข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูล ณ วันทำการสุดท้ายของแต่ละปี เราจะเห็นว่าสินทรัพย์เพื่อการลงทุนมีหลากหลาย แต่ไม่มีสินทรัพย์ใดเลยที่ให้ผลตอบแทนสูงสุดตลอดเวลา สินทรัพย์ที่มีโอกาสให้ผลตอบแทนสูงก็มีโอกาสทำให้เราขาดทุนได้สูงด้วย หากใครที่อยากลงทุนในสินทรัพย์เพียงอย่างเดียว เมื่อเห็นกราฟนี้ก็คงคิดว่าลงทุนในหุ้นไทยน่าจะได้ผลตอบแทนสูง ในขณะที่หากเจ็บตัวคงเจ็บไม่มาก เพราะเท่าที่เห็นแค่ประมาณ 11% เท่านั้นเอง ซึ่งข้อมูลนี้แสดงให้เห็นผลตอบแทนเพียง 11 ปีย้อนหลังเท่านั้น หากย้อนหลังไปมากกว่านี้อีกสัก […]