Economic Update: COP 29

Economic Update: COP 29

โดย ดร.มิ่งขวัญ ทองพฤกษา Chief Economist, BBLAM การประชุมสมัชชาภาคีครั้งที่ 29 ของสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ  หรือ COP 29 (United Nations Climate Change Conference) กำลังจัดขึ้นที่กรุง Baku เมืองหลวงประเทศ Azerbaijan ระหว่างวันที่ 11-22 พ.ย. 2024 เป็นการประชุมประจำปี ที่จะหารือในด้านความท้าทายด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและเจรจาข้อตกลงระหว่างประเทศ โดยผู้กำหนดนโยบายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากประเทศทั่วโลก โดยมีตัวแทนจากประเทศทั่วโลกที่เข้าร่วมเกือบ 200 ประเทศ ประเด็นที่ถูกกล่าวถึงเป็นประเด็นแรก คือ การบรรลุข้อตกลงเกี่ยวกับ มาตรา 6.4 (Article 6.4) ในระดับโลก และกำหนดให้ประเทศทั่วโลกสามารถซื้อขายคาร์บอนเครดิตได้ผ่านตลาดที่ดำเนินการโดยสหประชาชาติ และคาดหวังว่าการซื้อขายคาร์บอนเครดิตจะสามารถดึงดูดเงินทุนหลายพันล้านดอลลาร์ฯ เพื่อสนับสนุนโครงการลดการปล่อยมลพิษในประเทศที่กำลังพัฒนา วัตถุประสงค์หลักของ COP 29 คือ การดำเนินการ NCQG (New Collective […]

BBLAM Weekly Investment Insights 2-5 มกราคม 2024

BBLAM Weekly Investment Insights 2-5 มกราคม 2024

Weekly Highlight Economic Outlook 2024 By BBLAM – Growth Driver ของเศรษฐกิจโลกในปี 2024 น่าจะเปลี่ยนไป โดยเราเริ่มเห็นการฟื้นตัวของการส่งออก ที่จะมาช่วย Balance กับภาคบริการที่เป็น Growth Driver หลัก เมื่อปี 2020-2022 – Investment Insights : Investing in innovation 2024 เปิดเทรนด์ Healthtech ปี 2024 ค่ารักษาแพงแค่ไหนก็ไม่กลัว! 5 เทรนด์เทคโนโลยีปี 2024 ที่นักลงทุนต้องรู้ Big Tech เริ่มฟื้น เป็นโอกาส หรือความเสี่ยง By BBLAM 5 เทคโนโลยีที่พลาดไม่ได้! สำหรับการลงทุน By BBLAM Investment Insights : Investing in […]

BBLAM Knowledge Tips: Sustainable Investing สำคัญอย่างไร?

BBLAM Knowledge Tips: Sustainable Investing สำคัญอย่างไร?

โดย พริ้มพัชร จิรบวรพงศา, AFPTTM BBLAM                ปัจจุบันนักลงทุนทั่วโลก กำลังให้ความสนใจและให้ความสำคัญ ในแนวคิดเรื่องการลงทุนอย่างยั่งยืน (Sustainable Investing) สาเหตุหลักก็เป็นเพราะโลกของเรา  กำลังเผชิญกับปัญหาสิ่งแวดล้อม อย่าง ภาวะโลกร้อน  ปัญหาน้ำท่วม หรือฝุ่น PM2.5 ปัญหาต่างๆ เหล่านี้ได้ส่งผลกระทบเชิงลบต่อการใช้ชีวิตในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็น ชีวิตประจำวัน  การทำงาน  การทำธุรกิจ  และได้ขยายวงกว้างออกไปยังระบบเศรษฐกิจและการลงทุนด้วย  จึงทำให้หลายๆ ประเทศทั่วโลกหันหน้ามาร่วมมือกัน  ทั้งการสร้างข้อตกลงปารีส (Paris Agreement) หรือการนำแนวคิดนี้มาเป็นส่วนหนึ่งในการกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจและการลงทุน                สำหรับประเทศไทย รัฐบาลได้สนับสนุนแนวคิดเรื่องการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกันยกตัวอย่าง แผนบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2561 – 2464  ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)  จำนวน 86  โครงการ ภายใต้ 4 ยุทธศาสตร์การจัดการสิ่งแวดล้อม ด้วยงบประมาณกว่าหมื่นล้านบาท โดยเน้นเรื่องการบริหารจัดการขยะ น้ำเสีย และสภาพอากาศ […]

BBLAM ESG Corner: Zero Waste ลดขยะให้เหลือเป็นศูนย์ ไม่ยากอย่างที่คิด

BBLAM ESG Corner: Zero Waste ลดขยะให้เหลือเป็นศูนย์ ไม่ยากอย่างที่คิด

โดย รุ่งนภา เสถียรนุกูล BBLAM สถานการณ์ขยะมูลฝอยของประเทศไทย พบว่า ในปี 2564 ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นอยู่ที่ 24.98 ล้านตัน หรือประมาณ 68,434 ตันต่อวัน หรือคิดเป็นอัตราการเกิดขยะมูลฝอย 1.03 กิโลกรัม/คน/วัน ซึ่งเมื่อเทียบกับปริมาณขยะมูลฝอยในปีที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าจะมีปริมาณที่ลดลง เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (Covid-19) ที่เริ่มคลี่คลายลง  แต่ประชาชนยังคงพฤติกรรมในการใช้บริการสั่งซื้อสินค้าและอาหารผ่านระบบออนไลน์ จึงทำให้มีขยะมูลฝอยประเภทบรรจุภัณฑ์หรือพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง (Single Use plastic) ยังอยู่ในระดับที่สูง ไม่เพียงแต่ในประเทศไทย ที่มีปัญหาในเรื่องของการกำจัดขยะมูลฝอย ทั่วโลกเองก็มีปัญหาในเรื่องดังกล่าวด้วยเช่นกัน จากพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนไป จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ทำให้ปริมาณขยะที่ทิ้งออกมามีปริมาณที่สูง ส่วนหนึ่งของปัญหาขยะเกิดจากการบริโภคสินค้าแบบใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง เช่น ขวดพลาสติก หลอดพลาสติก โฟม ซึ่งในการกำจัดขยะเหล่านี้ส่งผลกระทบทางลบต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ ดังนั้น แนวคิดเรื่อง Zero Waste  จึงเกิดขึ้นมา เพื่อเป็นแนวทางในการลดการเกิดขยะตั้งแต่ต้นทาง ทำให้ปริมาณขยะที่ต้องนำไปกำจัดให้ลดเหลือน้อยที่สุดจนเป็นศูนย์ โดยอาศัยหลักการจัดการขยะในรูปแบบ 1A3R […]

BBLAM ESG Corner: Sustainability-Linked Bond ตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืน (SLBs)

BBLAM ESG Corner: Sustainability-Linked Bond ตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืน (SLBs)

โดย ณัฐกร พีรสุขประเสริฐ BBLAM ในตลาดตราสารหนี้ หลายๆ คน คงคุ้นเคยกับคำว่า พันธบัตรสีเขียว (Green Bonds) ซึ่งจำกัดวัตถุประสงค์ของการระดมทุนเพื่อการลงทุนในโครงการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แต่ในปัจจุบัน มีตราสารหนี้รูปแบบใหม่เรียกว่า ตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืน หรือ Sustainability-Linked Bonds (SLBs) ซึ่งไม่ได้จำกัดวัตถุประสงค์ของการระดมทุนเหมือนกับ Green Bonds แต่กลับเปิดโอกาสให้ผู้ระดมทุนสามารถนำเงินลงทุนไปลงทุนกับโครงการใดๆ   ก็ได้ เพียงแต่คุณลักษณะบางประการของตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืน อาทิ Coupon Rate จะเชื่อมโยงกับศักยภาพในการดำเนินงานของบริษัทด้านความยั่งยืน ซึ่งจะถูกประเมินด้วยตัวชี้วัด (KPIs) เป้าหมายด้านความยั่งยืน (SPTs) และกรอบระยะเวลาในการดำเนินงาน โดยบริษัทที่ระดมทุนด้วยการออกขาย SLBs ครั้งแรกของโลกคือ บริษัท ENEL ซึ่งเป็นบริษัทด้านพลังงานสะอาดในภูมิภาคยุโรป ทำการออกขาย SLBs ในเดือนกันยายน ปี 2019 Sustainability-Linked Bond (SLBs) คือ เครื่องมือทางการเงินรูปแบบหนึ่งที่ใช้สำหรับการระดมทุนผ่านตลาดตราสารหนี้ […]

BF Knowledge Tips: Sustainable Investing สำคัญอย่างไร?

BF Knowledge Tips: Sustainable Investing สำคัญอย่างไร?

โดย พริ้มพัชร จิรบวรพงศา, AFPTTM , BBLAM ปัจจุบันนักลงทุนทั่วโลก กำลังให้ความสนใจและให้ความสำคัญ ในแนวคิดเรื่องการลงทุนอย่างยั่งยืน (Sustainable Investing) สาเหตุหลักก็เป็นเพราะโลกของเรา  กำลังเผชิญกับปัญหาสิ่งแวดล้อม อย่าง ภาวะโลกร้อน  ปัญหาน้ำท่วม  หรือฝุ่น PM2.5  ปัญหาต่างๆ เหล่านี้ได้ส่งผลกระทบเชิงลบต่อการใช้ชีวิตในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็น ชีวิตประจำวัน  การทำงาน  การทำธุรกิจ  และได้ขยายวงกว้างออกไปยังระบบเศรษฐกิจและการลงทุนด้วย  จึงทำให้หลายๆ ประเทศทั่วโลกหันหน้ามาร่วมมือกัน  ทั้งการสร้างข้อตกลงปารีส (Paris Agreement) หรือการนำแนวคิดนี้มาเป็นส่วนหนึ่งในการกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจและการลงทุน สำหรับประเทศไทย   รัฐบาลได้สนับสนุนแนวคิดเรื่องการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน ยกตัวอย่างแผนบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2561 – 2564  ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)  จำนวน 86  โครงการ  ภายใต้ 4 ยุทธศาสตร์การจัดการสิ่งแวดล้อม  ด้วยงบประมาณกว่าหมื่นล้านบาท โดยเน้นเรื่องการบริหารจัดการขยะ  น้ำเสีย  และสภาพอากาศ […]

‘Mastercard’ เปิดตัวแผนการรีไซเคิลบัตรเครดิต-เดบิตทั่วโลก คาดมีบัตรหมุนเวียน 3.1 พันล้านใบ/ปี

‘Mastercard’ เปิดตัวแผนการรีไซเคิลบัตรเครดิต-เดบิตทั่วโลก คาดมีบัตรหมุนเวียน 3.1 พันล้านใบ/ปี

เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2566 สำนักข่าวรอยเตอร์ รายงานว่า มาสเตอร์การ์ด (Mastercard) ผู้นำด้านการชำระเงินระดับโลก เปิดตัวโครงการระดับโลกเพื่อรีไซเคิลบัตรเครดิตและบัตรเดบิต ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการที่จะเก็บบัตรหลายพันล้านใบที่หมุนเวียนในอุตสาหกรรมจากการฝังกลบ ในขั้นต้นเป็นพันธมิตรกับ HSBC Holdings Plc ใน 8 สาขาในสหราชอาณาจักร Mastercard กล่าวว่า ธนาคารทั่วโลก ซึ่งบางแห่งได้ริเริ่มโครงการในพื้นที่ดังกล่าวจะสามารถเข้าร่วมโครงการได้ Ajay Bhalla ประธานฝ่ายไซเบอร์และข่าวกรองของ Mastercard Inc. กล่าวว่า “เราขอเชิญผู้ออกบัตรทุกรายทั่วโลกมาเป็นพันธมิตรกับเรา ไม่ว่าจะอยู่ในภูมิภาคใดก็ตาม และเสนอการรีไซเคิลบัตรให้กับลูกค้า” ทั้งนี้ ภายใต้แผนดังกล่าว Mastercard จะจัดหาเครื่องทำลายเอกสารให้กับ HSBC ซึ่งแต่ละเครื่องสามารถบรรจุบัตรได้ 10,000 ใบ เทียบเท่ากับพลาสติก 50 กก. เมื่อเต็มแล้วจะถูกโอนไปยังโรงงานรีไซเคิลพลาสติก อย่างไรก็ตาม ไม่มีการเปิดเผยรายละเอียดทางการเงินเกี่ยวกับแผนโครงการนำร่อง ซึ่งจะเริ่มดำเนินการในช่วง 6 เดือนแรก จะช่วยให้ลูกค้าสามารถนำบัตรพลาสติกใดๆ มารีไซเคิลได้ รวมถึงบัตรจากคู่แข่งด้วย ปัจจุบัน Mastercard กล่าวว่า มีบัตรหมุนเวียนประมาณ […]

กองทุนรวมคนไทยใจดี (BKIND)

กองทุนรวมคนไทยใจดี (BKIND)

Highlight “ตลาดหุ้นไทย เศรษฐกิจไทยอยู่ในโหมดของการฟื้นตัว หนุนโดยการบริโภคภาครัฐและเอกชนจากการผ่อนคลายมาตรการ รวมถึงภาคการส่งออกที่ได้รับประโยชน์จากประเทศคู่ค้าที่ฟื้นตัวก่อนและค่าเงินบาทที่อ่อนค่าลง” “นักลงทุนต่างชาติยังคงซื้อสุทธิตลาดหุ้นไทยต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6 ที่ 2 หมื่นล้านบาท เป็นอีกปัจจัยหนุนตลาดหุ้นไทยให้ปรับตัวได้”   ตลาดหุ้นโลก ปรับตัวผันผวน โดยเฉพาะในช่วงครึ่งเดือนแรกของพฤษภาคม ตลาดแตะระดับ Bear Market หรือลดลงจากสูงสุดช่วงต้นปีที่ 20% ก่อนที่จะปรับเพิ่มขึ้นได้ในช่วงครึ่งหลังของเดือน ประเด็นที่เป็นปัจจัยกดดันการลงทุนยังคงมาจากแรงกดดันเงินเฟ้อในหลายประเทศที่อยู่ในระดับสูงในรอบหลายปี แนวโน้มนโยบายการเงินที่เข้มงวดเพิ่มขึ้นต่อเนื่องในช่วงที่ผ่านมา และโมเมนตัมทางเศรษฐกิจโดยรวมที่ชะลอลง อย่างไรก็ดี ตลาดก็เริ่มรับรู้ปัจจัยด้านนโยบายการเงินที่เข้มงวดขึ้นไปมากแล้ว รวมถึงสัญญาณจากภาวะเงินเฟ้อที่เริ่มชะลออัตราการปรับขึ้นลง ส่งผลให้ตลาดโดยรวมปิดทรงตัวได้ในเดือนพฤษภาคม ทั้งนี้ ทิศทางของอัตราดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง และอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ที่ปรับตัวขึ้นสูงในช่วงที่ผ่านมา อาจเป็นปัจจัยกดดันระดับ Valuation ของตลาดหุ้น ให้อยู่ในระดับ Multiple ที่ต่ำลง ในระยะข้างหน้า ผลกระทบของเงินเฟ้อต่อกำไรบริษัทจดทะเบียน ท่าทีของนโยบายการเงินจากธนาคารกลาง และประเด็นการถดถอยของเศรษฐกิจ ยังคงปัจจัยสาคัญที่จะส่งผลต่อการลงทุนสินทรัพย์เสี่ยง ในด้านเศรษฐกิจนั้น สงครามยูเครน รัสเซียที่ยืดเยื้อ การคว่ำบาตรทางการค้า และการ Lockdown เศรษฐกิจในจีน […]

กองทุนรวมบัวหลวงหุ้นธรรมาภิบาลไทย (B-THAICG)

กองทุนรวมบัวหลวงหุ้นธรรมาภิบาลไทย (B-THAICG)

Highlight “ตลาดหุ้นไทย เศรษฐกิจไทยอยู่ในโหมดของการฟื้นตัว หนุนโดยการบริโภคภาครัฐและเอกชนจากการผ่อนคลายมาตรการ รวมถึงภาคการส่งออกที่ได้รับประโยชน์จากประเทศคู่ค้าที่ฟื้นตัวก่อนและค่าเงินบาทที่อ่อนค่าลง” “นักลงทุนต่างชาติยังคงซื้อสุทธิตลาดหุ้นไทยต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6 ที่ 2 หมื่นล้านบาท เป็นอีกปัจจัยหนุนตลาดหุ้นไทยให้ปรับตัวได้” ตลาดหุ้นโลก ปรับตัวผันผวน โดยเฉพาะในช่วงครึ่งเดือนแรกของพฤษภาคม ตลาดแตะระดับ Bear Market หรือลดลงจากสูงสุดช่วงต้นปีที่ 20% ก่อนที่จะปรับเพิ่มขึ้นได้ในช่วงครึ่งหลังของเดือน ประเด็นที่เป็นปัจจัยกดดันการลงทุนยังคงมาจากแรงกดดันเงินเฟ้อในหลายประเทศที่อยู่ในระดับสูงในรอบหลายปี แนวโน้มนโยบายการเงินที่เข้มงวดเพิ่มขึ้นต่อเนื่องในช่วงที่ผ่านมา และโมเมนตัมทางเศรษฐกิจโดยรวมที่ชะลอลง อย่างไรก็ดี ตลาดก็เริ่มรับรู้ปัจจัยด้านนโยบายการเงินที่เข้มงวดขึ้นไปมากแล้ว รวมถึงสัญญาณจากภาวะเงินเฟ้อที่เริ่มชะลออัตราการปรับขึ้นลง ส่งผลให้ตลาดโดยรวมปิดทรงตัวได้ในเดือนพฤษภาคม ทั้งนี้ ทิศทางของอัตราดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง และอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ที่ปรับตัวขึ้นสูงในช่วงที่ผ่านมา อาจเป็นปัจจัยกดดันระดับ Valuation ของตลาดหุ้น ให้อยู่ในระดับ Multiple ที่ต่ำลง ในระยะข้างหน้า ผลกระทบของเงินเฟ้อต่อกำไรบริษัทจดทะเบียน ท่าทีของนโยบายการเงินจากธนาคารกลาง และประเด็นการถดถอยของเศรษฐกิจ ยังคงปัจจัยสำคัญที่จะส่งผลต่อการลงทุนสินทรัพย์เสี่ยง ในด้านเศรษฐกิจนั้น สงครามยูเครน รัสเซียที่ยืดเยื้อ การคว่ำบาตรทางการค้า และการ Lockdown เศรษฐกิจในจีน เป็นปัจจัยที่ซ้ำเติมปัญหาอุปทาน […]

นักลงทุนสนใจลงทุนกองทุนมุ่งเน้น ESG เพิ่ม 4 เท่าตัว ขณะที่ ก.ล.ต. สหรัฐฯ คุมเข้มป้องกันการลงทุนธุรกิจฟอกเขียวมากขึ้น

นักลงทุนสนใจลงทุนกองทุนมุ่งเน้น ESG เพิ่ม 4 เท่าตัว ขณะที่ ก.ล.ต. สหรัฐฯ คุมเข้มป้องกันการลงทุนธุรกิจฟอกเขียวมากขึ้น

กองทุนที่มุ่งเน้นเรื่องสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ดีกำลังได้รับความนิยมมากขึ้น ภายใต้ชื่อเรียกว่ากองทุน ESG ซึ่งหมายถึงการลงทุนในธุรกิจที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล โดยพบว่า ณ สิ้นปี 2021 มีนักลงทุนจัดสรรเงินมาลงทุนในภาคส่วนที่ให้ความสำคัญเรื่อง ESG 357,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นกว่า 4 เท่าตัวเมื่อเทียบกับ 3 ปีก่อนหน้านี้ ตามข้อมูลของ Morningstar ทั้งนี้ นักลงทุนใส่เงินถึง 69,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เข้าไปในกองทุน ESG ที่รู้จักกันในชื่อ กองทุนยั่งยืนเมื่อปีที่ผ่านมา โดยกองทุนประเภทนี้ มีหลากหลายรูปแบบมาก มีทั้งที่พยายามส่งเสริมเรื่องความเท่าเทียมทางเพศหรือเชื้อชาติ การลงทุนในเทคโนโลยีพลังงานสะอาดหรือหลีกเลี่ยงเชื้อเพลิงฟอสซิล ยาสูบ หรือบริษัทปืน เป็นต้น ขณะที่ผู้หญิงและกลุ่มนักลงทุนรุ่นใหม่ ที่อายุต่ำกว่า 40 ปี เป็นกลุ่มที่สนใจการลงทุนที่มี ESG มากที่สุด ตามข้อมูลของ Cerulli Associates โดยพบว่าประมาณ 34% ของที่ปรึกษาทางการเงิน นำเสนอกองทุน […]