กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นจีน (B-CHINE-EQ) กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นจีนเพื่อการออม (B-CHINESSF)

กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นจีน (B-CHINE-EQ) กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นจีนเพื่อการออม (B-CHINESSF)

Highlight ตั้งแต่ต้นปี 2022 หุ้นกลุ่มวัฏจักร เช่น กลุ่มการเงิน พลังงาน และอสังหาริมทรัพย์ มีการฟื้นตัวได้ดีกว่ากลุ่มเติบโตซึ่งเป็นไปตามตลาดหุ้นอื่นๆ ในโลก แต่เศรษฐกิจแตกต่างจากเศรษฐกิจอื่น คือ ในขณะที่ทั่วโลกกำลังอยู่ในช่วงดอกเบี้ยขาขึ้น แต่จีนกลับตรงกันข้าม กล่าวคือ จีนอยู่ในช่วงดอกเบี้ยต่ำ และมีการใช้นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย กองทุนลงทุนโดยรักษาสมดุลย์ระหว่างกลุ่มอุตสาหกรรมเก่าและใหม่ของจีนเพื่อครอบคลุมทุกโอกาสในการลงทุน ในแนวคิดดังต่อไปนี้ พลังงานสะอาด การท่องเที่ยวและการบริโภคในประเทศ เทคโนโลยีการแพทย์  การพึ่งพาการเติบโตในประเทศ และ การลดการพึ่งพิงต่างชาติ จากนโยบายของที่ประชุมคณะทำงานด้านเศรษฐกิจแห่งชาติ สะท้อนให้เห็นว่ารัฐบาลให้ความสำคัญกับการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจ ดังนั้น นโยบายภาครัฐในระยะอันใกล้นี้จะเน้นไปที่การส่งเสริมการเติบโตของเศรษฐกิจเป็นสำคัญ  ปี 2021 ตลาด A- Shares มีผลการดำเนินงานดีกว่า หุ้นที่จดทะเบียนนอกแผ่นดินใหญ่มาก โดยทั้งปี MSCI China A Onshore มีผลการดำเนินงาน 4.0% ในขณะที่ MSCI China Index มีผลการดำเนินงานลดลง -27.1% […]

กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นจีนเอแชร์เพื่อการเลี้ยงชีพ (B-CHINAARMF)

กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นจีนเอแชร์เพื่อการเลี้ยงชีพ (B-CHINAARMF)

Highlight ตั้งแต่ต้นปี 2022 หุ้นกลุ่มวัฏจักร เช่น กลุ่มการเงิน พลังงาน และอสังหาริมทรัพย์ มีการฟื้นตัวได้ดีกว่ากลุ่มเติบโตซึ่งเป็นไปตามตลาดหุ้นอื่นๆ ในโลก แต่เศรษฐกิจแตกต่างจากเศรษฐกิจอื่น คือ ในขณะที่ทั่วโลกกำลังอยู่ในช่วงดอกเบี้ยขาขึ้น แต่จีนกลับตรงกันข้าม กล่าวคือ จีนอยู่ในช่วงดอกเบี้ยต่ำ และมีการใช้นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย กองทุนลงทุนโดยรักษาสมดุลย์ระหว่างกลุ่มอุตสาหกรรมเก่าและใหม่ของจีนเพื่อครอบคลุมทุกโอกาสในการลงทุน ในแนวคิดดังต่อไปนี้ พลังงานสะอาด การท่องเที่ยวและการบริโภคในประเทศ เทคโนโลยีการแพทย์  การพึ่งพาการเติบโตในประเทศ และ การลดการพึ่งพิงต่างชาติ จากนโยบายของที่ประชุมคณะทำงานด้านเศรษฐกิจแห่งชาติ สะท้อนให้เห็นว่ารัฐบาลให้ความสำคัญกับการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจ ดังนั้น นโยบายภาครัฐในระยะอันใกล้นี้จะเน้นไปที่การส่งเสริมการเติบโตของเศรษฐกิจเป็นสำคัญ ปี 2021 ตลาด A-Shares มีผลการดำเนินงานดีกว่า หุ้นที่จดทะเบียนนอกแผ่นดินใหญ่มาก โดยทั้งปี MSCI China A Onshore มีผลการดำเนินงาน 4.0% ในขณะที่ MSCI China Index มีผลการดำเนินงานลดลง -27.1% ซึ่งเป็นผลมาจากการปรับตัวลงของหุ้นบริษัทอินเทอร์เน็ต […]

กองทุนเปิดบัวหลวงภารตะ (B-BHARATA)

กองทุนเปิดบัวหลวงภารตะ (B-BHARATA)

Highlight กิจกรรมทางเศรษฐกิจดีขึ้นสู่ระดับก่อนวิกฤตการณ์โควิด และมีการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยเน้นโครงสร้างพื้นฐานและการเพิ่มจ้างงาน ซึ่งจะทำให้กลุ่มพลังงานสะอาด คมนาคมขนส่ง ไม่ว่าจะเป็นถนน ท่าเรือ รถไฟ และขนส่งสาธารณะได้ประโยชน์ ทั้งนี้ IMF คาดการณ์ว่า GDP ปี 2022 จะอยู่ที่ 9% และ ปี 2023 ที่ 7.1% ผู้จัดการกองทุนหลักมองว่า หุ้นขนาดใหญ่มีแนวโน้มจะมีผลการดำเนินงานที่ดีกว่าหุ้นขนาดกลางและขนาดเล็ก เพราะหุ้นขนาดกลางและขนาดเล็กปรับตัวขึ้นมากในปีที่แล้ว   ปี 2021 ตลาดหุ้นอินเดียให้ผลตอบแทนที่ดี MSCI India +26.2% นำโดยหุ้นขนาดกลางและขนาดเล็ก มากกว่าหุ้นขนาดใหญ่ อย่างไรก็ตามในช่วงไตรมาส 4/2021 ตลาดหุ้นอินเดียได้รับผลกระทบจากการส่งสัญญาณการขึ้นดอกเบี้ยและการลดขนาดงบดุลของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา จึงปรับตัวลดลงต่อเนื่องจนถึงเดือนมกราคมปี 2022 สถานการณ์โควิดของอินเดียอยู่ภายใต้การควบคุม แม้ว่าจะมีตัวเลขผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้น แต่ยังไม่เห็นสัญญาณน่ากังวล มีการฉีดวัคซีนประมาณ 4-5 ล้านโดสต่อวัน ประชากรผู้ใหญ่กว่า 75% ได้รับวัคซีนครบโดสแล้ว อัตราการเสียชีวิตต่ำ 1.18% […]

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 25 ก.พ. 2565 ปิดตลาดที่ 1,679.90 จุด เพิ่มขึ้น 17.18 จุด

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 25 ก.พ. 2565 ปิดตลาดที่ 1,679.90 จุด เพิ่มขึ้น 17.18 จุด

ดัชนีหุ้นไทยวันที่ 25 ก.พ. 2565 ปิดตลาดที่ 1,679.90 จุด เพิ่มขึ้น 17.18 จุด (+1.03%) ระหว่างวัน ดัชนีสูงสุดที่ 1,684.50 จุด และต่ำสุดที่ 1,670.13 จุด มูลค่าการซื้อขาย 87,772.73 ล้านบาท หลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายสูงสุด 5 อันดับ ได้แก่ 1.KBANK ปิดที่ 163.50 บาท เพิ่มขึ้น 0.50 บาท (+0.31%) มูลค่าการซื้อขาย 5,412.17 ลบ. 2.CPALL ปิดที่ 67.75 บาท เพิ่มขึ้น 2.00 บาท (+3.04%) มูลค่าการซื้อขาย 3,206.71 ลบ. 3.OSP ปิดที่ 35.75 […]

กองทุนเปิดบัวหลวงเพิ่มพูน (B-ENHANCED)

กองทุนเปิดบัวหลวงเพิ่มพูน (B-ENHANCED)

ภาพรวมตลาด ธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) มีการประชุมในวันที่ 25 – 26 ม.ค. 2022 ที่ผ่านมาธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) มีมติเป็นเอกฉันท์ (9-0) คงนโยบายการเงินไว้เช่นเดิม อย่างไรก็ดี Fed ส่งสัญญาณการใช้นโยบายการเงินที่จะเข้มงวดขึ้นชัดเจน ท่ามกลางเศรษฐกิจที่ขยายตัวได้ดีต่อเนื่อง รวมถึงตลาดแรงงานที่แข็งแกร่ง ขณะที่เงินเฟ้อขยายตัวเหนือเป้าหมาย 2% ด้านการดำเนินนโยบายการเงิน สรุปในประเด็นสำคัญได้ดังนี้ 1.การลดการเข้าซื้อสินทรัพย์ (QE taper) ระบุจะสิ้นสุดเดือน มี.ค. ซึ่งค่อนข้างเป็นไปตามที่ส่วนใหญ่คาดการณ์กันไว้ แต่มีความชัดเจนขึ้นว่าจะสิ้นสุดในช่วง “ต้นเดือน มี.ค.” 2.การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ไม่ได้ระบุชัดว่าจะปรับขึ้นเมื่อไหร่ โดยระบุเพียงว่าการปรับขึ้นในระยะใกล้นี้อาจมีความเหมาะสมหากภาพเศรษฐกิจเป็นไปตามที่คาดไว้ (… “soon” be appropriate to raise the target range for the federal funds rate …) โดยตลาด […]

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้เพื่อการเลี้ยงชีพ (BFRMF)

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้เพื่อการเลี้ยงชีพ (BFRMF)

ภาพรวมตลาด ภาวะตลาดตราสารหนี้ไทยในเดือน ม.ค. อัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะสั้นเปลี่ยนแปลงไม่เกิน 1 bps ส่วนอัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาวอายุ 2 ปีขึ้นไป ปรับเพิ่มขึ้นในช่วง 4 ถึง 24 bps ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯ หลังจากธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) ส่งสัญญาณการใช้นโยบายการเงินที่เข้มงวดขึ้นอย่างชัดเจน ทั้งการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย (Fed Funds Rate) และการลดขนาดงบดุล (QT) จากเศรษฐกิจที่ขยายตัวได้ดีต่อเนื่อง รวมถึงตลาดแรงงานที่แข็งแกร่ง และเงินเฟ้อขยายตัวเหนือเป้าหมาย 2% กดดันให้อัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯ ปรับเพิ่มขึ้น โดยอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯ อายุ 10 ปี ณ สิ้นเดือน ม.ค. อยู่ที่ 1.79% ปรับเพิ่มขึ้น 27 bps จากสิ้นเดือนก่อน ส่วนอัตราผลตอบแทนพันธบัตรไทยอายุ 10 ปี อยู่ที่ 2.13% ปรับเพิ่มขึ้น 24 bps […]

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ (BFIXED)

กองทุนเปิดบัวหลวงตราสารหนี้ (BFIXED)

ภาพรวมตลาด ธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) มีการประชุมในวันที่ 25 – 26 ม.ค. 2022 ที่ผ่านมาธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) มีมติเป็นเอกฉันท์ (9-0) คงนโยบายการเงินไว้เช่นเดิม อย่างไรก็ดี Fed ส่งสัญญาณการใช้นโยบายการเงินที่จะเข้มงวดขึ้นชัดเจน ท่ามกลางเศรษฐกิจที่ขยายตัวได้ดีต่อเนื่อง รวมถึงตลาดแรงงานที่แข็งแกร่ง ขณะที่เงินเฟ้อขยายตัวเหนือเป้าหมาย 2% ด้านการดำเนินนโยบายการเงิน สรุปในประเด็นสำคัญได้ดังนี้ 1.การลดการเข้าซื้อสินทรัพย์ (QE taper) ระบุจะสิ้นสุดเดือน มี.ค. ซึ่งค่อนข้างเป็นไปตามที่ส่วนใหญ่คาดการณ์กันไว้ แต่มีความชัดเจนขึ้นว่าจะสิ้นสุดในช่วง “ต้นเดือน มี.ค.” 2.การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ไม่ได้ระบุชัดว่าจะปรับขึ้นเมื่อไหร่ โดยระบุเพียงว่าการปรับขึ้นในระยะใกล้นี้อาจมีความเหมาะสมหากภาพเศรษฐกิจเป็นไปตามที่คาดไว้ (… “soon” be appropriate to raise the target range for the federal funds rate …) โดยตลาด […]

กองทุนเปิดบัวหลวงมันนี่มาร์เก็ตเพื่อการเลี้ยงชีพ (MM-RMF)

กองทุนเปิดบัวหลวงมันนี่มาร์เก็ตเพื่อการเลี้ยงชีพ (MM-RMF)

ภาพรวมตลาด ธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) มีการประชุมในวันที่ 25 – 26 ม.ค. 2022 ที่ผ่านมาธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) มีมติเป็นเอกฉันท์ (9-0) คงนโยบายการเงินไว้เช่นเดิม อย่างไรก็ดี Fed ส่งสัญญาณการใช้นโยบายการเงินที่จะเข้มงวดขึ้นชัดเจน ท่ามกลางเศรษฐกิจที่ขยายตัวได้ดีต่อเนื่อง รวมถึงตลาดแรงงานที่แข็งแกร่ง ขณะที่เงินเฟ้อขยายตัวเหนือเป้าหมาย 2% ด้านการดำเนินนโยบายการเงิน สรุปในประเด็นสำคัญได้ดังนี้ 1.การลดการเข้าซื้อสินทรัพย์ (QE taper) ระบุจะสิ้นสุดเดือน มี.ค. ซึ่งค่อนข้างเป็นไปตามที่ส่วนใหญ่คาดการณ์กันไว้ แต่มีความชัดเจนขึ้นว่าจะสิ้นสุดในช่วง “ต้นเดือน มี.ค.” 2.การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ไม่ได้ระบุชัดว่าจะปรับขึ้นเมื่อไหร่ โดยระบุเพียงว่าการปรับขึ้นในระยะใกล้นี้อาจมีความเหมาะสมหากภาพเศรษฐกิจเป็นไปตามที่คาดไว้ (… “soon” be appropriate to raise the target range for the federal funds rate …) โดยตลาด […]

กองทุนเปิดบัวหลวงธนทวี (B-TNTV)

กองทุนเปิดบัวหลวงธนทวี (B-TNTV)

ภาพรวมตลาด ภาวะตลาดตราสารหนี้ไทยในเดือน ม.ค. อัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะสั้นเปลี่ยนแปลงไม่เกิน 1 bps ส่วนอัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาวอายุ 2 ปีขึ้นไป ปรับเพิ่มขึ้นในช่วง 4 ถึง 24 bps ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯ หลังจากธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) ส่งสัญญาณการใช้นโยบายการเงินที่เข้มงวดขึ้นอย่างชัดเจน ทั้งการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย (Fed Funds Rate) และการลดขนาดงบดุล (QT) จากเศรษฐกิจที่ขยายตัวได้ดีต่อเนื่อง รวมถึงตลาดแรงงานที่แข็งแกร่ง และเงินเฟ้อขยายตัวเหนือเป้าหมาย 2% กดดันให้อัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯ ปรับเพิ่มขึ้น โดยอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯ อายุ 10 ปี ณ สิ้นเดือน ม.ค. อยู่ที่ 1.79% ปรับเพิ่มขึ้น 27 bps จากสิ้นเดือนก่อน ส่วนอัตราผลตอบแทนพันธบัตรไทยอายุ 10 ปี อยู่ที่ 2.13% ปรับเพิ่มขึ้น 24 bps […]

จับตาทิศทางธนาคารกลางทั่วโลกหลังรัสเซีย-บุกยูเครน คาดยังต้องใช้นโยบายการเงินเข้มงวดอยู่

จับตาทิศทางธนาคารกลางทั่วโลกหลังรัสเซีย-บุกยูเครน คาดยังต้องใช้นโยบายการเงินเข้มงวดอยู่

ธนาคารกลางทั่วโลกกลับมาใช้นโยบายการเงินที่เข้มงวดขึ้นหลังจากผ่านพ้นการแพร่ระบาดมา ทำให้เกิดข้อสงสัยตามมาว่า กรณีปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ที่รัสเซียโจมตียูเครนนี้ จะทำให้ศูนย์กลางเศรษฐกิจที่สำคัญของโลกต้องปรับเปลี่ยนการใช้นโยบายการเงินอะไรที่แตกต่างไปจากเดิมหรือไม่ ทั้งนี้ ผู้กำหนดนโยบายต่างเผชิญความเสี่ยงจากราคาน้ำมันที่พุ่งขึ้นอย่างรวดเร็วไปอยู่เหนือ 100 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล และสิ่งที่คาดเดาไม่ได้ในระยะยาวว่าสงครามในพื้นที่ยุโรป จะส่งผลต่อความเชื่อมั่น การลงทุน การค้า และระบบการเงินอย่างไรบ้าง ธนาคารกลางต่างๆ อยู่ในตำแหน่งที่ต่อสู้กับเงินเฟ้อ ขณะที่คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจยังคงเติบโตอย่างแข็งแกร่ง แต่ปัจจุบันพวกเขาอาจเห็นการเติบโตที่ลดลง ท่ามกลางราคาที่พุ่งขึ้นต่อเนื่อง ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่ได้แก้ไขง่ายๆ ด้วยการใช้กลยุทธ์นโยบายการเงินแบบมาตรฐาน นักวิเคราะห์จาก Oxford Economics เขียนรายงานไว้ว่า สำหรับธนาคารกลางของประเทศเศรษฐกิจหลักๆ แล้ว สงครามจะทำให้พวกเขาอยู่ในสถานะที่แย่ลงอย่างชัดเจน เงินเฟ้อที่สูงจะทำให้ธนาคารกลางยากที่จะเพิกเฉยกับแรงกดดันเงินเฟ้อระยะใกล้ แต่ในเวลาเดียวกันพวกเขาก็ต้องระมัดระวังการพัฒนาล่าสดที่เพิ่มความเสี่ยงที่จะเกิดเงินเฟ้อที่ต่ำมากในปี 2023 หรือปี 2024 เนื่องจากแนวโน้มการเติบโตของเศรษฐกิจที่อ่อนแอลง ทั้งนี้ เงินเฟ้อที่สูงในสหรัฐฯ และที่อื่นๆ ทำให้ธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) ธนาคารกลางยุโรป (ECB) และธนาคารกลางอังฤษ ไม่น่าจะหยุดแนวทางที่ดำเนินการอยู่เหมือนกันในตอนนี้คือ การหันไปใช้นโยบายการเงินที่เข้มงวด