กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย  B-HY (UH) AI กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย  B-HY (H75) AI

กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย B-HY (UH) AI กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย B-HY (H75) AI

Highlight พอร์ต ณ สิ้นตุลาคม มี yield to worst ที่ 4.52% (ไม่รวมเงินสด) ซึ่งสูงกว่า Benchmark ที่ 4.30% กองทุนมีกลยุทธ์ที่เน้นการลงทุนในตราสารหนี้ที่มีอายุคงเหลือระยะสั้น โดยมีอายุตราสารเฉลี่ย (Duration) 2.8 ปี ต่ำกว่า Benchmark ที่ 4.0 ปี US High Yield Bonds เป็นตราสารที่มีแนวโน้มได้รับผลกระทบจากการปรับขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลในระดับจำกัด และยังมีส่วนต่างจากอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลในระดับที่น่าจูงใจ ภาพรวมตลาด การชะลอตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในช่วงครั้งหลังของปี 2564  ประเด็นการขาดแคลน Supply Chain และความกังวลเรื่องเงินเฟ้อ เป็นแรงกดดัน High Yield Bond ในเชิงปัจจัยพื้นฐานของตราสารหนี้กลุ่ม High Yield สหรัฐฯ โดยรวมมีพัฒนาการที่ดีขึ้นต่อเนื่อง ส่งผลให้อัตราผิดนัดชำระหนี้ของบริษัทผู้ออกตราสารหนี้ US High […]

กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย B-HY (UH) AI และกองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย B-HY (H75) AI

กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย B-HY (UH) AI และกองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย B-HY (H75) AI

Highlight กองทุนมีกลยุทธ์ที่เน้นการลงทุนในตราสารหนี้ที่มีอายุคงเหลือระยะสั้น โดยมีอายุตราสารเฉลี่ย 2.4 ปี (ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยตลาดที่ 3.7 ปี) ด้วยมีความผันผวนไม่สูงมากนักและมีระดับมูลค่าที่น่าลงทุน กองทุนหลักมีมุมมองว่า แม้อัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯ จะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากการปรับทิศทางการดำเนินนโยบายการเงินของ FED และการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของเศรษฐกิจสหรัฐฯ แต่ตราสารหนี้ US High Yield ยังคงมีความน่าสนใจสำหรับนักลงทุน ทั้งในเรื่องของรายได้ที่ได้รับอย่างสม่ำเสมอและระดับอัตราดอกเบี้ยจ่ายของตราสารที่อยู่ในระดับค่อนข้างสูงประมาณ 3.5 – 4% ขณะที่ปัจจัยพื้นฐานของผู้ออกตราสารมีพัฒนาการที่ดีขึ้น ภาพรวมตลาด ช่วงไตรมาส 3 ของปีนี้ปัจจัยเรื่องการแพร่ระบาดของ COVID-19 โดยเฉพาะจากการกลายพันธุ์ของสายพันธุ์ไวรัส ได้เข้ามากดดันทำให้เกิดความกังวลเรื่องการฟื้นตัวของเศรษฐกิจอีกครั้งทั้งภายในและภายนอกสหรัฐฯ และทำให้ผลตอบแทนของตราสารหนี้กลุ่ม High Yield สหรัฐฯ ปรับตัวลดลงเล็กน้อยในช่วงเดือน ส.ค. อย่างไรก็ตาม ตราสารหนี้ กลุ่ม High Yield สหรัฐฯ ยังคงให้ผลตอบแทนที่ดีเมื่อเทียบกับตราสารหนี้ประเภทอื่นๆ โดยให้ผลตอบแทนประมาณ 4.6% นับตั้งแต่ช่วงต้นปี ขณะที่ส่วนต่างระหว่างอัตราผลตอบแทนตราสารหนี้กลุ่ม High Yield […]

กองทุนบัวหลวงเปิดโผ B-Select แนะนำกองทุนที่ควรมีในพอร์ตประจำไตรมาสที่ 3 ชี้นักลงทุนควรจัดพอร์ตกระจายลงทุนหลากหลายกองทุนเพื่อรับมือความท้าทาย

กองทุนบัวหลวงเปิดโผ B-Select แนะนำกองทุนที่ควรมีในพอร์ตประจำไตรมาสที่ 3 ชี้นักลงทุนควรจัดพอร์ตกระจายลงทุนหลากหลายกองทุนเพื่อรับมือความท้าทาย

ข่าวประชาสัมพันธ์                                                                                    Press Release กองทุนบัวหลวงแนะนำกระจายลงทุนผ่าน 6 กองทุน ที่ B-Select แนะนำมีไว้ในพอร์ตในไตรมาสที่ 3 นี้ ทั้ง Theme การลงทุนหลัก ได้แก่ BTP  และ  B-HY(UH) AI หรือ  B-HY(H75) AI และ Theme การลงทุนเสริม ซึ่งมี 4 กองทุน คือ B-INNOTECH, B-SIP, B-ASIA และ B-CHINE-EQ มองการลงทุนอย่างต่อเนื่อง ยังเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อไม่ให้พลาดโอกาสไป เพียงแต่ต้องสร้างสมดุลให้พอร์ต นายสันติ ธนะนิรันดร์ ประธานเจ้าหน้าที่การลงทุน บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม บัวหลวง จำกัด หรือ กองทุนบัวหลวง เปิดเผยว่า กองทุนบัวหลวงจัดทำ B-Select เพื่อให้คำแนะนำในการเลือกกองทุนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ตลาดในแต่ละช่วงเวลา (Tactical […]

กองทุนเปิดบัวหลวงบีแมพส์ 25 (BMAPS25), กองทุนเปิดบัวหลวงบีแมพส์ 55 (BMAPS55) และกองทุนเปิดบัวหลวงบีแมพส์ 100 (BMAPS100)

กองทุนเปิดบัวหลวงบีแมพส์ 25 (BMAPS25), กองทุนเปิดบัวหลวงบีแมพส์ 55 (BMAPS55) และกองทุนเปิดบัวหลวงบีแมพส์ 100 (BMAPS100)

HIGHLIGHT การลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยงทั่วโลกยังคงมีปัจจัยบวกจากสภาพคล่องในระบบ และการฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในแต่ละประเทศ ที่ผ่านมาตลาดผันผวนจากการรับรู้ปัจจัยลบเรื่องการลดวงเงินเข้าซื้อสินทรัพย์ของเฟดแล้วบางส่วน เริ่มเห็นเม็ดเงินลงทุนเข้ากลุ่ม Defensive เช่น เฮลธ์แคร์มากขึ้น ขณะที่เงินไหลออกจากกลุ่มเทคโนโลยีเบาบางลง ในช่วงที่ผ่านมา กองทุนเข้าลงทุนใน B-SIP /B-BHARATA/B-NIPPON นอกจากนี้ผู้จัดการกองทุนยังมีการถือเงินสดหรือกองทุนสภาพคล่องไว้บางส่วน เพื่อเข้าลงทุนเพิ่มหากตลาดหุ้นปรับฐานในช่วงที่ FED ออกมาสื่อสารเรื่องวงเงินการซื้อสินทรัพย์ และการขึ้นดอกเบี้ยของสหรัฐฯ ในอนาคตอันใกล้นี้  การทำ Asset Allocation มีความสำคัญมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในปีที่เต็มไปด้วยความเสี่ยงเช่นปีนี้ กองทุน BMAPS ทั้ง 3 กองทุน ยกเว้นค่าธรรมเนียมการขายตั้งแต่วันนี้ถึง 30 ธันวาคม 2564 และค่าธรรมเนียมการจัดการไม่เรียกเก็บซ้ำซ้อน ภาพรวมตลาด การลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยงทั่วโลกยังคงมีปัจจัยบวกจากสภาพคล่องในระบบ  และการฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในแต่ละประเทศ ที่ผ่านมาตลาดผันผวนจากการรับรู้ปัจจัยลบเรื่องการลดวงเงินเข้าซื้อสินทรัพย์ของเฟดแล้วบางส่วน เริ่มเห็นเม็ดเงินลงทุนเข้ากลุ่ม Defensive เช่น เฮลธ์แคร์มากขึ้น ขณะที่เงินไหลออกจากกลุ่มเทคโนโลยีเบาบางลง ตลาดสหรัฐฯ มีปัจจัยบวกจากความรวดเร็วในการฉีดวัคซีน และเม็ดเงินกระตุ้นเศรษฐกิจ ตลาดจีนปรับลดลงตั้งแต่ตรุษจีนที่ผ่านมา ด้วยนโยบายของรัฐในการกระตุ้นเศรษฐกิจลดลง และมาตรการเข้มงวดกับบริษัทเทคโนโลยี แต่ปัจจุบันความกังวลในเรื่องดังกล่าวผ่อนคลายลงมากแล้ว และมีปัจจัยบวกจากพื้นฐานเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวจากโควิดได้เร็วกว่าประเทศอื่น ตลาดญี่ปุ่น […]

กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย  B-HY (UH) AI และกองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย  B-HY (H75) AI

กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย B-HY (UH) AI และกองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย B-HY (H75) AI

Highlight ผลการดำเนินงานให้ผลตอบแทนเป็นบวกได้รับแรงหนุนจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ กระจายวัคซีนที่เพิ่มขึ้น ผลการดำเนินงานของบริษัทต่าง ๆ ที่ส่วนใหญ่ออกมาดีกว่าคาดการณ์ และการลดลงของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรจากจุดสูงสุดในรอบปี ผลการดำเนินงานกองทุนน้อยกว่าดัชนีชี้วัด สาเหตุมาจากการที่พอร์ตมี Duration ต่ำกว่าดัชนี  กองทุนฯ มีกลยุทธ์ที่จะเน้นการลงทุนในตราสารหนี้ที่มีอายุคงเหลือระยะสั้น โดยมีอายุตราสารเฉลี่ย 2.27 ปี (ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยตลาดที่ 3.64 ปี) ด้วยมีความผันผวนไม่สูงมากนักและมีระดับมูลค่าที่น่าลงทุน ภาพรวมตลาด ICE BofA Merrill Lynch US High Yield Index ไตรมาส 1/2021 อยู่ที่ +0.90% และในเดือน เม.ย. +1.10% สาเหตุที่ผลการดำเนินงานให้ผลตอบแทนเป็นบวกได้รับแรงหนุนจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ กระจายวัคซีนที่เพิ่มขึ้น ผลการดำเนินงานของบริษัทต่าง ๆ ที่ส่วนใหญ่ออกมาดีกว่าคาดการณ์ และการลดลงของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรจากจุดสูงสุดในรอบปี ตราสารที่ออกใหม่ – ในเดือน เม.ย. มีตราสารออกใหม่ 75 ราย ประมาณ […]

กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย  B-HY (UH) AI และกองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย  B-HY (H75) AI

กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย B-HY (UH) AI และกองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย B-HY (H75) AI

HIGHLIGHT ผลตอบแทนของตราสารหนี้ทั่วโลกปรับตัวติดลบ ยกเว้นส่วนของตราสารหนี้กลุ่ม High Yield ที่ยังสามารถให้ผลตอบแทนเป็นบวก ปัจจัยพื้นฐานของตราสารหนี้กลุ่ม High Yield โดยรวมมีพัฒนาการที่ดีขึ้น ส่งผลให้อัตราผิดนัดชำระหนี้ของบริษัทผู้ออกตราสารหนี้ US High Yield ปรับตัวไปในทิศทางที่มีพัฒนาการเชิงบวกมากขึ้น ด้วยผลจากการที่สหรัฐฯ กลับมาเปิดเมืองและภาคธุรกิจเริ่มกลับมาดำเนินการเฉกเช่นปกติ รวมถึงสภาวะทางการเงิน (Financial Condition) ที่ผ่อนคลายและต้นทุนทางการเงินที่ต่ำทำให้ผู้ออกตราสารสามารถระดมเงินกู้ได้โดยง่าย กองทุนฯ มีกลยุทธ์ที่จะเน้นการลงทุนในตราสารหนี้ที่มีอายุคงเหลือระยะสั้น โดยมีอายุตราสารเฉลี่ย  2.3 ปี (ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยตลาดที่ 3.5 ปี) ด้วยมีความผันผวนไม่สูงมากนักและมีระดับมูลค่าที่น่าลงทุน ประเด็นสำคัญของตลาดตราสารหนี้นับตั้งแต่ช่วงต้นปี ได้แก่ การปรับขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลทั่วโลก โดยเฉพาะพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ระยะยาวที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างรุนแรง โดยพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ อายุ 10 ปีเปลี่ยนแปลงจากปลายปี 2563 ที่ประมาณ 0.9% มาสู่ระดับสูงกว่า 1.5% ซึ่งเป็นผลมาจากการคาดการณ์เงินเฟ้อ (Inflation Expectation) ทั้งจากเหตุผลเรื่องการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ การดำเนินมาตรการกระตุ้นด้านการคลังขนาดใหญ่ และการเร่งตัวขึ้นของราคาสินค้าโภคภัณฑ์ […]

กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (H75) AI) และกองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (UH) AI)

กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (H75) AI) และกองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (UH) AI)

Highlight ประจำไตรมาส 4Q2020 ผลตอบแทนตลาดตราสารหนี้ยูเอสไฮยิลด์จะสร้างผลตอบแทนได้ประมาณ 5.0-7.0% ในสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ สำหรับระยะเวลาการลงทุนในอีก 12 เดือนข้างหน้า ตราสารหนี้ยูเอสไฮยิลด์จะเป็นสินทรัพย์ที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่าหุ้นสหรัฐฯ และพันธบัตรรัฐบาลในกรอบระยะเวลา 3-5 ปีถัดจากนี้ เพราะหุ้นสหรัฐฯมีระดับมูลค่าสูง ขณะที่พันธบัตรรัฐบาลก็ให้ดอกเบี้ยต่ำที่สุดเป็นประวัติการณ์ สรุปภาวะตลาดและมุมมองตราสารหนี้ยูเอสไฮยิลด์ในอนาคตอีก 12 เดือนข้างหน้า ถ้าดูปีนี้ทั้งปี เฉพาะเดือน ส.ค. 2020 จะเป็นเดือนที่มีปริมาณตราสารหนี้ออกใหม่ออกมามากอย่างที่ผู้จัดการกองทุนหลักไม่เคยพบเจอมาก่อน ทั้งที่โดยปกติจะเป็นเดือนที่ตรงกับ summer holiday ของทางฝั่งประเทศสหรัฐฯ ผนวกกับแรงซื้ออย่างล้นหลามจากผู้ซื้อตราสารหนี้ในตลาดแรก ทำให้เป็นโอกาสที่ดีกับธุรกิจที่ต้องการออกตราสารหนี้มารีไฟแนนซ์หนี้เดิม เพิ่มสภาพคล่องทางการเงินให้กับกิจการของตนเอง เป็นเรื่องแปลกของตลาดตราสารหนี้ไฮยิลด์สหรัฐฯ ภายใต้ภาวะที่เรียกว่า Technical negative ที่เห็น ตราสารหนี้บริษัทยักษ์ใหญ่ถูกปรับลดอัตราความน่าเชื่อถือลงสู่ระดับต่ำกว่าระดับน่าลงทุน (Fallen angel) มูลค่ากว่า 150 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ นักลงทุนนำดอกเบี้ยที่ได้รับจากการลงทุนกลับไปซื้อตราสารหนี้ยูเอสไฮยิดล์อีกครั้งหนึ่ง ธนาคารกลางสหรัฐฯ เข้ามาแทรงแทรงตลาดด้วยการซื้อตราสารหนี้ ทั้งกลุ่มที่เพิ่งได้รับการปรับอันดับความน่าเชื่อถือเข้าสู่กลุ่มต่ำกว่าระดับลงทุน (Fallen angels) และอีทีเอฟ (HY ETFs) […]

กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (H75) AI) และกองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (UH) AI)

กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (H75) AI) และกองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (UH) AI)

 Highlight: กองทุนหลักมีมุมมองต่อผลตอบแทนในเชิงเปรียบเทียบสำหรับระยะเวลา 12 เดือนถัดจากนี้ว่า ยูเอสไฮยิดล์มีความน่าสนใจกว่าเนื่องจากหุ้นสหรัฐฯ ที่มีระดับมูลค่าที่สูง ขณะที่พันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ มีผลตอบแทนต่ำสุดเป็นประวัติการณ์ Search for yield ยังดำเนินต่อไป เห็นได้จากปริมาณตราสารหนี้ออกใหม่ในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2563 ที่สูงถึง 75% ของปริมาณตราสารหนี้ออกใหม่ในปีที่แล้ว แต่กลับได้รับความนิยม โดยมียอดจองซื้อที่สูงกว่ายอดเสนอขายประมาณ 2-3 เท่า ท่ามกลางสถานการณ์ COVID-19 ในสหรัฐฯ ยังไม่คลี่คลาย คาดการณ์ผลตอบแทนรวมสำหรับการลงทุนในตราสารหนี้ยูเอสไฮยิลด์จากนี้ถึงสิ้นปีในสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ สำหรับกรณี Base case อยู่ในช่วง 6.00%-9.00% กองทุนหลักคาดการณ์อัตราการผิดนัดชำระหนี้ (Default rate) ในอีก 12 เดือนข้างหน้า จะอยู่ในช่วง 5.00%-8.00% จากระดับที่ตลาดมองไว้ที่ 5.00% ณ ปัจจุบัน หากสหรัฐฯต้องกับการล็อคดาวน์อีกครั้ง (เผชิญกับ Second wave) กองทุนหลักได้ทำการทดสอบภาวะวิกฤต (Stress test) […]

กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (H75) AI) และกองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (UH) AI)

กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (H75) AI) และกองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (UH) AI)

สรุปภาวะตลาดตราสารหนี้ยูเอส ไฮยิลด์ ในเดือน มี.ค. เดือน มี.ค. ที่ผ่านมา ตราสารหนี้ยูเอส ไฮยิลด์ ที่มีอันดับความน่าเชื่อถือ (Credit rating) ระดับ B ให้ผลตอบแทน -11.76% นับเป็นผลตอบแทนรายเดือนที่แย่ที่สุดนับตั้งแต่ เดือน ต.ค. ปี 2008 เป็นผลมาจากวิกฤตด้านสาธารณสุขทั่วโลกนำไปสู่ประเด็นทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว กระตุ้นให้เกิดการใช้มาตรการทางการคลังและการเงินอย่างเข้มข้นทั่วโลก ด้านกระแสเงินไหลเข้า-ออก ตลาดตราสารหนี้ยูเอส ไฮยิลด์ได้รับกับกระแสเงินไหลออกในเดือน มี.ค. -10.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ด้านตราสารหนี้ออกใหม่ พบว่า มูลค่าตราสารหนี้ออกใหม่ลดลงมาก มีตราสารหนี้ออกใหม่เพียง 5 ตราสาร รวมมูลค่า 4.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เทียบกับ 29.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในเดือน ก.พ. 2020 ด้านการผิดนัดชำระหนี้ มีตราสารหนี้ไฮยิลด์ผิดนัดชำระหนี้ 3 ตราสารในเดือน มี.ค. 2020 […]

กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (H75) AI) และกองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (UH) AI)

กองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (เฮดจ์ 75) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (H75) AI) และกองทุนเปิดบัวหลวงไฮยิลด์ (อันเฮดจ์) ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย (B-HY (UH) AI)

บทสัมภาษณ์ทิศทางตลาดยูเอสไฮยิลด์จาก Mr. Charl Pepper Whitbeck, Head of AXA US High Yield Bond Fund หากมองในปี 2019 ท่านผู้ถือหน่วยคงจำได้ว่าเป็นปีที่ตลาดยูเอสไฮยิลด์มีความผันผวนต่ำมาก ตลาดยูเอสไฮยิลด์เป็นขาขึ้นตลอดทางเพราะช่วงก่อนหน้าเคยเผชิญกับแรงขายในช่วงปลายปี 2018 แต่ในปี 2019 ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยยูเอสไฮยิลด์กับผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ (Spread) แคบลงตลอดทาง ดัชนีตราสารหนี้ยูเอสไฮยิลด์ให้ผลตอบแทนรายเดือนติดลบเพียงเดือนเดียว ด้วยเหตุที่ว่า นักลงทุนเกรงว่าจะเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอย (Recession) จึงขยับไปถือครองตราสารหนี้ซึ่งมีคุณภาพที่ดีแต่สิ่งที่เกิดขึ้นกลับมีทิศทางตรงกันข้ามกับที่ตลาดมอง โดยธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ได้กลับลำ ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงทำให้เส้นอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯที่เคยทรงตัวอยู่ในรูปแบบ Flattening Yield curve (ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุสั้นเท่ากันกับผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุยาว) วกกลับมาเป็น Inverted yield Curve (ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุสั้นน้อยกว่าผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุยาว) กองทุนหลักถือครองตราสารหนี้ยูเอสไฮยิลด์ที่มีอายุยาวจึงให้ผลตอบแทนดีกว่าดัชนี ในช่วงเวลาดังกล่าวกองทุนหลัก เริ่มทยอยปรับเพิ่มน้ำหนักกับตราสารหนี้ยูเอสไฮยิลด์ที่มีอายุสั้นมากขึ้น เพราะเป็นกลยุทธ์ของกองทุนหลักที่จะ stay Defensive สำหรับกลุ่มอุตสาหกรรมของตราสารหนี้ที่กองทุนหลักถือครองอยู่นั้น ตราสารหนี้ในกลุ่มพลังงานให้ผลตอบแทนโดดเด่น กองทุนหลักลงทุนตราสารหนี้ในกลุ่มนี้โดยคัดเลิอกบริษัทผู้ให้บริการท่อส่งน้ำมันที่รายได้ไม่ผันผวนไปตามราคาน้ำมันดิบโลก […]